Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69460
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc.Prof.Dr. Sakgasit Ramingwong-
dc.contributor.advisorAsst.Prof. Dr. Lachana Ramingwong-
dc.contributor.advisorAsst.Prof.Dr. Kenneth Cosh-
dc.contributor.authorKittitouch Suteecaen_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:33:30Z-
dc.date.available2020-08-10T01:33:30Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69460-
dc.description.abstractNowadays, the software industry is growing very rapidly. Software has become a major component of Information and Communication Technology (ICT) industry. However, this industry has been facing many challenges and problems that need to be resolved. Examples of these challenges are the high expectation on quality of software, the changes of user requirements, the compatibility of new and legacy technologies, and sophistication of software. Many software companies seek appropriate methodologies for preventing or solve these problems. Implementing standards has been a promising method to improve the quality of software development. On the other hand, the principles of agile development, such as Scrum and Extreme Programming, has been influencing modern software industry. Scrum is currently a popular software development methodology since it is highly responsive to changes. Delivering of working software is more important than documentation. However, implementing standards on agile development concept can be challenging. The objective of this thesis is to develop an Assessment Driven Model for Scrum Software Development by using the process assessment of software development ISO/IEC29110. The ISO/IEC29110 is a software development standard, including two main processes, i.e. Project management and Software implementation. The design of the model involves measurement of process quality following standard, cost of software quality, and the appraisal to failure ratio in the software project This research finally proposes a new model of software development which encapsulates the ISO/IEC29110 standards with Scrum methodology. The number of tasks and the artifact in the new model is significantly decreased from the original standard. This allows small software companies to control the quality of the development process, reduce the cost of the project, and increase the productivity in software development more easily and efficiently.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleAssessment Driven Model for Scrum Software Developmenten_US
dc.title.alternativeแบบจำลองการขับเคลื่อนด้วยการประเมินสำหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบสกรัมen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ซอฟต์แวร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในอุตสหกรรมการผลิตซอฟต์แวร์มีปัญหาที่เกิดขึ้นมากมายที่จะต้องหาแนวทางในการแก้ไข เช่น ผู้ใช้มีความต้องการใช้ซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพสูง การเปลี่ยนแปลงความต้องการ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ซอฟต์แวร์มีความซับซ้อนมากขึ้น เป็นต้น บริษัทพัฒนาซอฟต์แวร์จึงพยายามในการหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว การใช้มาตรฐานในการพัฒนาเป็นแนวทางหนึ่งในการปรับปรุงกระบวนการผลิตให้มีคุณภาพดีขึ้น อย่างไรก็ตามการปรับใช้มาตรฐานในรูปแบบการพัฒนาซอฟต์แวร์ยุคใหม่ เช่น เช่น สกรัม และ เอ็กซ์ตรีมโปรแกรมมิ่ง นั้นยังเป็นสิ่งที่ท้าทายเป็นอย่างมาก เนื่องจากการพัฒนาซอฟต์แวร์ประเภทนี้เน้นความรวดเร็ว และให้ความสำคัญกับเอกสารน้อยกว่าชิ้นงาน ทั้งนี้สกรัมเป็นรูปแบบการพัฒนาซอฟต์แวร์ยุคใหม่ที่ได้รับความนิยมใช้ในการพัฒนากันอย่างแพร่หลายเนื่องจากสามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของความต้องการได้ดี และรวดเร็ว วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์นี้คือการพัฒนาแบบจำลองการขับเคลื่อนด้วยการประเมินสำหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบสกรัม โดยนำรูปแบบการประเมินกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ ISO/IEC29110 มาปรับใช้เป็นตัวขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยวิธีการแบบสกรัม มาตรฐาน ISO/IEC29110 ประกอบไปด้วยสองกระบวนการหลักคือ การบริหารโครงการ (Project Management) และ การดำเนินงานซอฟต์แวร์ (Software Implementation) ในการออกแบบจำลองนั้นประกอบด้วยการวัดประประเมินคุณภาพของกระบวนการตามมาตรฐาน ต้นทุนทางด้านคุณภาพของการพัฒนาซอฟต์แวร์ และอัตราส่วนของการทดสอบและการแก้ไขปัญหาในโครงการซอฟต์แวร์ ผลที่ได้จากสร้างแบบจำลองคือรูปแบบการพัฒนาซอฟต์แวร์ตามมาตรฐานผนวกกับการพัฒนาโดยวิธีการแบบสกรัม ซึ่งสามารถลดขั้นตอนและเอกสารของการทำงานจากมาตรฐานเดิมเพื่อให้มีความเหมาะสมตามรูปแบบของสกรัม รูปแบบจำลองที่สร้างขึ้นสามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบของกระบวนการในบริษัทซอฟต์แวร์ขนาดเล็กเพื่อควบคุมคุณภาพของการผลิต, ประหยัดต้นทุนค่าใช้จ่ายในโครงการ และเพิ่มผลผลิตในการพัฒนาซอฟต์แวร์en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
570651016 กิตติธัช สุตีคำ.pdf7.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.