Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69454
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร.ทรงยศ กิจธรรมเกษร-
dc.contributor.authorกรณ์ ยะมังen_US
dc.date.accessioned2020-08-08T02:58:27Z-
dc.date.available2020-08-08T02:58:27Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69454-
dc.description.abstractMicroscopic Traffic Simulation used for designing and evaluating the performance of road infrastructure and facilities. It is an effective and widely accepted method. Moreover, traffic simulation is reasonable and consistent with the actual traffic conditions. It is necessary to study the specific driving behaviors and vehicle characteristics in the study area, for reducing the errors that may occur by the default value from the simulations. This research aims to (1) modify the driving behavior of vehicles and collecting vehicle characteristics data as a database; and (2) developing the microscopic simulation models as the actual traffic conditions in the road network in the Chiang Mai urban area. The collected data consists of 2 categories, which are Kinematic characteristics of vehicles and Static characteristics of vehicles. They are the essential parameters that affect traffic efficiency on the road network. This research uses the modified driving behavior and vehicle characteristics to create a vehicle movement model in the microscopic simulation, which can be divided into two main conditions - the default and the modified motorcycle driving behavior. After that, evaluate the traffic performance by using density, queue length, and road capacity. The results of performance evaluation found that the modified model increase density in all three intersections. Due to the behavior of driving behind, in which the parameters that affect the most density is the average distance from the vehicles in front (Average standstill distance). Moreover, the queue length has decreased. As for the capacity evaluation of all three intersections, It found that the capacity of the modified simulation is higher than the default.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์พฤติกรรมการแทรกตัวและคุณลักษณะของ ยานพาหนะสำหรับพัฒนาแบบจำลองการจราจร ระดับจุลภาคในพื้นที่เมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeAnalysis of Filtering Behavior and Vehicle Characteristics for Developing Microscopic Simulation Model in Chiang Mai Urban Areaen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการประยุกต์ใช้แบบจำลองการจราจรระดับจุลภาค (Microscopic Traffic Simulation Model) ในการออกแบบและประเมินประสิทธิภาพของโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกทาง ถนน นับเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง แต่อย่างไรก็ตาม การพัฒนา แบบจำลองให้มีความสมเหตุสมผลและสอดคล้องกับสภาพการจราจรที่เป็นจริง จำเป็นต้องมี การศึกษาพฤติกรรมการขับขี่ที่มีความเฉพาะหรือเป็นเอกลักษณ์รวมไปถึงคุณลักษณะของยานพาหนะ ในเขตพื้นที่ศึกษา เพื่อลดโอกาสการเกิดความคลาดเคลื่อนของประสิทธิภาพการจราจรที่อาจเกิดขึ้น จากการใช้ค่าตั้งต้น (default value) จากโปรแกรมแบบจำลอง งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปรับเทียบพฤติกรรมการขับขี่ของยานพาหนะรวมไปถึง ศึกษาข้อมูลคุณลักษณะของยานพาหนะสาหรับเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาแบบจำลองด้าน การจราจรระดับจุลภาคให้สอดคล้องกับสภาพการจราจรที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่โครงข่ายถนนในพื้นที่ เมืองเชียงใหม่ ซึ่งข้อมูลที่ศึกษา ประกอบด้วย 2 หมวดหมู่ ได้แก่ พฤติกรรมการเคลื่อนที่ของ ยานพาหนะ (Kinematic characteristics) และคุณลักษณะของยานพาหนะขณะอยู่นิ่ง (Static characteristics) ซึ่งเป็นพารามิเตอร์ที่มีความสาคัญที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพด้านการจราจรบน โครงข่ายถนน โดยงานวิจัยได้นาพฤติกรรมการแทรกตัวของรถจักรยานยนต์และคุณลักษณะของยาน พานะดังกล่าวมาสร้างแบบจาลองการเคลื่อนที่ของยานพาหนะในโปรแกรมแบบจาลองการจราจร ระดับจุลภาค (PTV Vissim)โดยแบ่งเป็น 2 เงื่อนไขหลัก คือ แบบตั้งต้นที่โปรแกรมให้มา (Default) และแบบปรับพฤติกรรมการขับขี่ของรถจักรยานยนต์ (Modified) หลังจากนั้นวิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพความหนาแน่น แถวคอย และความจุของโครงข่ายถนนโดยใช้ลักษณะของยานพาหนะ ตามที่ได้ทำการสำรวจ ผลการการประเมินประสิทธิภาพแบบจำลองที่มีการพัฒนาปรับปรุงกับแบบจำลองที่ใช้ค่าตั้ง ต้นที่โปรแกรมให้มา ผู้วิจัยได้ประเมินตัวแปรทั้งหมด 3 ตัวแปร ได้แก่ ความหนาแน่นจราจร ความ ยาวแถวคอย และความจุของถนน โดยการประเมินความหนาแน่นของถนนพบว่า ปริมาณความ หนาแน่นของถนนของแบบจาลองที่มีการพัฒนาปรับปรุงมีค่ามากกว่าปริมาณความหนาแน่นของ แบบจำลองที่ใช้ค่าตั้งต้นที่โปรแกรมให้มาของทางแยกทั้งสามทางแยก เนื่องจากการปรับพฤติกรรม การขับขี่ตามหลังโดยในส่วนของพารามิเตอร์ที่ส่งผลต่อปริมาณความหนาแน่นมากที่สุดคือการเว้น ระยะห่างเฉลี่ยจากยานพาหนะคันข้างหน้า (Average standstill distance) การประเมินความยาว แถวคอยนั้นพบว่า แบบจา ลองที่มีการพัฒนาปรับปรุงมีความยาวแถวคอยน้อยกว่าความยาวแถวคอย ของแบบจำลองที่ใช้ค่าตั้งต้นของโปรแกรมของทางแยกทั้งสามทางแยก ในส่วนของการประเมิน ความจุของถนนในแบบจำลองของทางแยกทั้งสามทางแยกนั้น พบว่าค่าความจุของแบบจำลองที่มีการ พัฒนาปรับปรุงของทั้งสามทางแยกมีค่ามากกว่าแบบจำลองที่ใช้ค่าตั้งต้นที่โปรแกรมให้มาen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600631043 กรณ์ ยะมัง.pdf7.95 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.