Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69435
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศันสนีย์ เอื้อพันธ์วิริยะกุล-
dc.contributor.authorภาคภูมิ พรมมูลen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T08:53:56Z-
dc.date.available2020-08-07T08:53:56Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69435-
dc.description.abstractThis thesis proposes the techniques, methodologies and processes for vision-based automatic vehicle counting system using shape analysis. The proposed method is based on movement and shape of vehicles. The dataset used in this thesis came from the VDO Surveillance center Chiang Mai Municipality. The process is divided into 2 phases, i.e., vehicle tracking and shape analysis. In vehicle tracking, we used Subpixel Motion Estimation without Interpolation (SubME) which is divided into 2 phases, i.e. Block matching and Optical flow. The block matching and the simplified optical flow is used in the SubME. Then the Taylor series approximation is used to refine the search. The shape analysis is divided into 2 phases, i.e., Active basis and Sting grammar. Active basis model deforms an image to a template in the form of an active basis consisting of a small number of Gabor wavelet elements at each location and orientation. Sting grammar is utilized to recognize the result of Active Basis. Nearest Neighbors is then used for classification type of vehicles based on the derived String grammaren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectระบบตรวจนับen_US
dc.subjectทัศนภาพen_US
dc.subjectการวิเคราะห์รูปร่างen_US
dc.titleระบบตรวจนับรถแบบอัตโนมัติตามทัศนภาพโดยการวิเคราะห์รูปร่างen_US
dc.title.alternativeVision-based automatic vehicle counting system using shape analysisen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc629.2-
thailis.controlvocab.thashรถ -- สถิติ -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์-
thailis.manuscript.callnumberว 629.2 ภ216ร 2560-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอเทคนิค วิธีการ และกระบวนการในการตรวจนับรถจากภาพแบบอัตโนมัติโดยการวิเคราะห์รูปร่าง โดยใช้ข้อมูลจากแยกจราจรในเทศบาลเมืองเชียงใหม่ ซึ่งกระบวนการวิจัยถูกแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนคือ ส่วนของการติดตามรถ และส่วนของการแยกประเภทของรถ โดยขั้นตอนการติดตามรถนั้นใช้ Subpixel motion estimation without interpolation (SubME) เป็นวิธีการในการติดตามการเคลื่อนที่ของรถ ประกอบไปด้วย 2 วิธีย่อยคือ Block matching และ Optical flow โดย Block matching จะเป็นวิธีการหาความคล้ายของรูปทั้ง 2 รูป โดยใช้บล็อคมาเป็นตัวกำหนดขอบเขตของพื้นที่ที่ใช้หาความคล้าย หลังจากได้จุดที่มีความคล้ายแล้ว จะนำเอา Optical flow มาหาทิศทางการเคลื่อนที่ของจุดความคล้ายทั้ง 2 จุด ต่อมาเป็นส่วนของการแยกประเภทของรถ โดยจะประกอบไปด้วย 2 วิธีการคือ แบบจำลองแอ็คทีฟเบซิส, และ String grammar Nearest Neighbors โดยแบบจำลองแอ็คทีฟเบซิส จะใช้ในการแปลงรูปที่ได้จากการติดตามรถให้อยู่ในรูปของโครงร่างที่ประกอบไปด้วยแท่งเล็กๆ มาเรียงต่อกันตามแนวของขอบของวัตถุ เนื่องจากโครงร่างที่ประกอบด้วยแท่งเล็กๆ นี้สามารถกำหนดให้อยู่ในรูปของไวยากรณ์ได้ ดังนั้นจึงใช้ไวยากรณ์แบบสายอักขระหาตัวต้นแบบที่ดีที่สุด เพื่อใช้เป็นแม่แบบในการแยกประเภทของรถ จากนั้นขั้นตอนการใช้ Nearest Neighbors จะอยู่ในส่วนของการจัดประเภทของรถ กล่าวคือเมื่อรูปรถชุดทดสอบเข้ามายังในระบบ ระบบจะทำการแปลงเป็นโครงร่าง จากนั้นก็จะนำโครงร่างที่ได้มาหา Nearest Neighbors กับตัวต้นแบบเพื่อหาว่ารถคันดังกล่าวเป็นรถประเภทใดen_US
Appears in Collections:ENG: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.