Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69388
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. เยาวลักษณ์ จันทร์บาง-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. วิบูลย์ ช่างเรือ-
dc.contributor.authorชัชพงษ์ ศรีคำen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T01:03:22Z-
dc.date.available2020-08-07T01:03:22Z-
dc.date.issued2014-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69388-
dc.description.abstractThe Objectives of this experiment are to use radio frequency (RF) for controlling sawtoothed grain beetle (Oryzaephilus surinamensis) in milled rice cv. Khao Dawk Mali 105 and to examine rice quality after treated by radio frequency with appropriate rate which performed completely kill insects. Insect mass rearing in rice cv. Khao Dawk Mali 105 with moisture content at 14 perecnt was conducted in laboratory condition. In experiment 1, all stages of insect, egg, larva, pupa and adult were treated by 27.12 MHz radio frequency which provided 55oC for 90 seconds. The result showed that adult stage of sawtoothed grain beetle was the most tolerance to RF heat treatment because adult mortality was the lowest (78.09 perecnt), followed by the mortality of pupal, larval and egg stages which were 90.90, 94.34 and 96.46 percent respectively. In experiment 2, adult stage of sawtoothed grain beetle,the most tolerant to RF heating was exposed to RF at 55, 60, 65 and 70 oC for 90, 120, 150 and 180 seconds at each treatment. The result found that RF treatment at 70 °C for 120 seconds was able to get effective control of sawtoothed grain beetle since there was the minimal combination rate of RF heat and there was no insect progeny found in milled rice. In experiment 3, quality of milled rice which treated by RF treatment at 70 °C for 120 seconds has been estimated. a Moisture content was decreased from 13.65 percent to 12.85 percent. Lightness (L*) was increased from 66.10 percent to 68.25 percent. Yellowness (b*) was increased from 15.88 percent to 17.64 percent. Whiteness index was increased from 62.56 percent to 63.67 percent. Amylose content was increased from 16.83 percent to 17.82 percent. Protein content was decreased from 7.38 percent to 7.12 percent. The amount of 2-acetyl-1-pyrroline (2-AP), the aroma compound which always found from fragrant rice was decreased from 2.82 ppm to 2.40 ppm after the RF heat treatment on Khao Dawk Mali 105 milled rice.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้คลื่นความถี่วิทยุเพื่อควบคุมมอดฟันเลื่อย (Oryzaephilus surinamensis) ในข้าวสารพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105en_US
dc.title.alternativeRadio Frequency Treatment for Controlling Sawtoothed Grain Beetle (Oryzaephilus surinamensis) in Rice cv. Khao Dawk Mali 105en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้คลื่นความถี่วิทยุในการควบคุมมอดฟันเลื่อยในข้าวสารพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และทำการศึกษาคุณภาพข้าวหลังจากนำไปผ่านคลื่นความถี่วิทยุในระดับที่ทำให้แมลงตายอย่างสมบูรณ์ โดยการทดลองเริ่มจากการเลี้ยงมอดฟันเลื่อยในข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่มีความชื้น 14 เปอร์เซ็นต์ การทดลองที่ 1 นำแมลงแต่ละวัยมาผ่านคลื่นความถี่วิทยุที่ความถี่ 27.12 MHz อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส เวลา 90 วินาที พบว่าตัวเต็มวัยมีเปอร์เซ็นต์การตายน้อยที่สุด คือ 78.09 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาคือ ระยะดักแด้ หนอน และไข่ ซึ่งมีเปอร์เซ็นต์การตายอยู่ที่ 90.90, 94.34 และ 96.46 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ การทดลองที่ 2 ใช้มอดฟันเลื่อยตัวเต็มวัยซึ่งเป็นระยะที่ทนทานต่อคลื่นความถี่วิทยุที่สุดมาผ่านที่คลื่นที่ระดับอุณหภูมิ 55, 60, 65 และ 70 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 90, 120 ,150 และ 180 วินาที พบว่าที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส เวลา 120 วินาที เป็นการใช้คลื่นความถี่วิทยุที่เหมาะสมที่สุด เนื่องจากใช้เวลาน้อยที่สุดที่ทำให้แมลงตาย 100 เปอร์เซ็นต์ และไม่มีการเกิดของแมลงรุ่นลูก ซึ่งในการทดลองที่ 3 ได้ทำการวัดคุณภาพของข้าวหลังจากผ่านคลื่นความถี่วิทยุที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส เวลา 120 วินาที พบว่า ความชื้นของข้าวลดลงจาก 13.65 เปอร์เซ็นต์ เหลือ 12.85 เปอร์เซ็นต์ ค่าสีที่วัดได้พบว่า ค่าความสว่าง (L*) เพิ่มขึ้นจาก 66.10 เปอร์เซ็นต์ เป็น 68.25 เปอร์เซ็นต์ ค่าของสีเหลือง (b*) เพิ่มขึ้นจาก 15.88 เปอร์เซ็นต์ เป็น 17.64 เปอร์เซ็นต์ ค่าดัชนีความขาวเพิ่มขึ้นจาก 62.56 เปอร์เซ็นต์ เป็น 63.67 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณอะไมโลสที่วัดได้เพิ่มขึ้นจาก 16.83 เปอร์เซ็นต์ เป็น 17.82 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณโปรตีนลดลงจาก 7.38 เปอร์เซ็นต์ เหลือ 7.12 เปอร์เซ็นต์ และปริมาณสารหอมที่วัดได้ลดลงจาก 2.82 ppm เหลือ 2.40 ppmen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.44 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.