Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69372
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์สมชาย ปรีชาศิลปกุล | - |
dc.contributor.author | สันติ สิงหสันติ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-07T01:01:36Z | - |
dc.date.available | 2020-08-07T01:01:36Z | - |
dc.date.issued | 2014-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69372 | - |
dc.description.abstract | The objective of this study , “Participation in Nomination Process” is: 1) to investigate nomination process of political party from law; 2) to investigate nomination process of political party in reality; 3) to investigate primary vote proposal for change nomination system The study of participation in nomination process showed that the new 2007 Organic Law on Political Parties mandates that nomination process in local area must providing opportunities for political participation in branch’s party convention. However the purpose of law is void because the process is distorted. Thai Democrat’s nomination process distort nomination process in 3 point; 1) Procedure of branch’s party convention is only collect candidate list for party committee; 2) The Application can made in head office; 3) Settlement of province committee is a mean for corruption. While Pheu Thai Party, The authoritative political decision is party elite or party committee who has absolute power. In Reality, Participation process in branch’s party convention dose not work because the committee of branch who can choose the member in convention is a few faction in local area. The Branch is not implements for participation, therefore Consequently, United Front for Democracy Against Dictatorship (UDD) invoke to Pheu Thai Party for primary vote in nomination process. It was born as a tool to take the nomination process out of hands of party elites and place it into the hands of general electorate. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการคัดเลือก ผู้สมัครรับเลือกตั้ง | en_US |
dc.title.alternative | People Participation in Nomination Process | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้ง มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคการเมืองตามบทบัญญัติของกฎหมาย และข้อบังคับพรรคการเมือง 2) เพื่อศึกษากระบวนการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งตามความเป็นจริง 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอให้นำระบบไพรมารี่โหวตมาใช้ในการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งของกลุ่ม นปช. บางกลุ่มในจังหวัดเชียงใหม่ จากการศึกษาพบว่า กระบวนการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งใช้ที่ประชุมใหญ่สาขาพรรคสำหรับเปิดโอกาสต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนถูกบิดเบือนจากความมุ่งหมาย ดังนี้ พรรคประชาธิปัตย์ มีการบิดเบือนใน 3 ประการ ประการที่หนึ่ง วิธีการพิจารณาของสาขาพรรคซึ่งทำเพียงแต่รวบรวมรายชื่อผู้สมัคร ประการที่สอง การยื่นใบสมัครซึ่งสามารถยื่นที่สำนักงานใหญ่ ประการที่สาม การตั้งคณะกรรมการพรรคประจำจังหวัดซึ่งมีหน้าที่เสนอรายชื่อผู้สมัครด้วย ในขณะที่พรรคเพื่อไทย มีการบิดเบือนโดยให้คณะกรรมการบริหารพรรคสามารถที่จะคัดเลือกผู้สมัครได้เองโดยไม่ต้องผ่านสาขาพรรค การบิดเบือนดังกล่าวทำให้แท้จริงแล้วคณะกรรมการบริหารพรรคเป็นผู้ควบคุมกระบวนการคัดเลือกผู้สมัคร แตกต่างกันเพียงพรรคประชาธิปัตย์ต้องมาผ่านสาขาพรรคก่อน สาขาพรรคการเมืองยังไม่เปิดโอกาสต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน ด้วยแม้จะมีการประชุมใหญ่สาขาพรรคการเมือง แต่ในความเป็นจริง สมาชิกพรรคในท้องที่สาขาพรรคการเมืองนั้นไม่ได้มีโอกาสเข้าร่วมอย่างแท้จริง เพราะว่าการเรียกประชุมสมาชิกพรรคในที่ประชุมใหญ่สาขาพรรคจะเชิญเฉพาะบุคคลที่คณะกรรมการสาขาพรรคเห็นควรเท่านั้น กลุ่มบุคคลในที่ประชุมจึงไม่หลากหลายและมีเพียงบางกลุ่มเท่านั้น จากกระบวนการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งซึ่งยังไม่เปิดโอกาสต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน ทำให้กลุ่มนปช.บางกลุ่มเสนอให้นำระบบไพรมารี่โหวตมาใช้ในการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้ง ข้อเสนอดังกล่าวต้องการลดช่องว่างระหว่างสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและประชาชน และใช้ระบบไพรมารี่โหวตเป็นกฎหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถกำหนดผู้ที่จะมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ด้วยตนเอง | en_US |
Appears in Collections: | LAW: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.65 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.