Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69332
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ. ดร. ชัยโรจน์ รัตนกวิน-
dc.contributor.authorวิลาสลักษณ์ จำปาen_US
dc.date.accessioned2020-08-05T03:50:58Z-
dc.date.available2020-08-05T03:50:58Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69332-
dc.description.abstractSodium feldspar (Na-feldspar) is a main raw material in a ceramic industry. From the literature review found that in Na-feldspar inclusions in high volumes such as iron and titanium are not suitable for use in advanced ceramic industry. The objective of this study was to improve Na-feldspar quality in Sam Ngao, Tak province, Thailand, by removing impurities minerals. The results of chemical analysis on mineral compositions calculated by NormCalc program have revealed that the mineral composition compose of 76.16 % albite, 18.27 % quartz, 1.18 % anorthite and 0.89% orthoclase. The majority of impurities are chlorite and titanites made by thin section. In this study, Na-feldspar with 0.25 % TiO2 and 0.69 % Fe2O3 can be separated by flotation both at acidic and alkaline condition. The collectors used to float chlorite and titanites impurities are petroleum sulphonate, hydroxamate and oleic acid. It was found that petroleum sulphonate in acidic condition can be reduced to % 0.10 TiO2 and % 0.16 Fe2O3. And flotation by oleic acid in alkaline condition can be reduced to % 0.06 TiO2 and % 0.17 Fe2O3, as a result of single stage flotation process. It can be concluded that product from all flotation can be use in ceramic industry at all grades; tableware, sanitary and tiles product moreover the flotation in alkaline condition do not affect the machine and environment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการลอยแร่โซเดียมเฟลด์สปาร์ เพื่ออุตสาหกรรมเซรามิกen_US
dc.title.alternativeFlotation of Sodium Feldspar for Ceramics Industryen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractแร่เฟลด์สปาร์ เป็นส่วนประกอบที่สำคัญในอุตสาหกรรมเซรามิก ซึ่งจากการสำรวจพบว่า ในเนื้อเฟลด์สปาร์จะประกอบไปด้วยแร่มลทินหลายชนิดเช่น แร่เหล็ก และแร่ไทเทเนียมในปริมาณ ที่สูง ซึ่งจะไม่เหมาะกับการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิกชั้นสูง วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อปรับปรุงคุณภาพของแร่โซเดียมเฟลด์สปาร์ โดยการกำจัดแร่มลทินที่อยู่ในเนื้อแร่ ตัวอย่างแร่ ที่นำมาศึกษาจากบริเวณอำเภอสามเงา จังหวัดตาก ทำการสุ่มเก็บตัวอย่างเพื่อนำไปวิเคราะห์ทางเคมี ผลการวิเคราะห์ทางเคมี สามารถคำนวณแร่ประกอบหิน โดยใช้โปรแกรม NormCalc พบว่า แร่ประกอบหินประกอบไปด้วย แร่แอลไบต์ 76.17%, แร่ควอตซ์ 18.27%, แร่อะนอไทต์ 1.18% และแร่ออร์โทเคลส 0.89% และจากการศึกษาแผ่นหินบางพบว่า แร่มลทินหลัก คือแร่คลอไรท์และไททาไน ในการศึกษาครั้งนี้ แร่โซเดียมเฟลด์สปาร์จะมีแร่ไทเทเนียมอยู่ 0.25 % และแร่เหล็ก 0.69% ซึ่งแยกโดยวิธีการลอยแร่ทั้งในสภาวะเป็นกรดและเป็นเบส สารเคลือบผิวที่ใช้ในการลอยแร่มลทินเหล่านี้ คือ ปิโตรเลียมซัลฟอเนต (petroleum sulphonate) ,ไฮดรอกซาเมต (hydroxamate) และ กรดไขมัน (oleic acid) พบว่าเมื่อใช้ ปิโตรเลียมซัลฟอเนต ภายใต้สภาวะความเป็นกรดสามารถลดแร่ไทเทเนียมได้ถึง 0.10% และลดแร่เหล็กได้ถึง 0.16% ซึ่งเป็นผลที่ได้จากกระบวนการลอย 3 ลำดับขั้น และ เมื่อลอยโดยใช้กรดไขมัน ในสภาวะเป็นเบส สามารถลดแร่ไทเทเนียมได้ถึง 0.06% และลดแร่เหล็ก ได้ถึง 0.17% ซึ่งเป็นผลที่ได้จากกระบวนการลอยแร่ 1 ลำดับขั้น สามารถสรุปได้ว่า ผลที่ได้จากการลอยทั้งในสภาวะเป็นกรดและเบสสามารถนำมาใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิกได้ทุกระดับ ทั้งผลิตภัณฑ์บนโต๊ะอาหาร, สุขอนามัยและผลิตภัณฑ์กระเบื้อง นอกจากนี้การลอยในสภาพที่เป็นเบสสามารถ ลดผลกระทบต่อเครื่องจักรและสภาพแวดล้อมอีกด้วยen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf10.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.