Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69283
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทรพร สิทธิเลิศพิศาล | - |
dc.contributor.author | อาภรณ์ พรหมสวัสดิ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-04T00:37:32Z | - |
dc.date.available | 2020-08-04T00:37:32Z | - |
dc.date.issued | 2016-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69283 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this study were to compare the cardiovascular endurance and percentage of body fat between dance sport exercise in Quick step and aerobic dance. Fourty healthy females aged 20.48 ± 0.64 years, average weight 53.44 ± 10.86 kg and average height 159.10 ± 5.78 cm. were parhcipate in the study. Participants were expenierced in basic dance sport exercise in Quick step and aerobic dance but did not train regularly. They were randomly divided into two group; dance sport exercise in Quick step and aerobic dance. They were trained 3 times per week for 8 week. The cardiovascular endurance and percentage of body fat were measured before and after training. Cardiovascular endurance and percentage of body fat before and after 8 week of training in each group were analyzed using paired t – test and the mean differences between groups was analysed using unpaired t – test at p < 0.05. The results showed that cardiovascular endurance significantly increased (p<0.05) and percentage of body fat significantly decreased (p<0.05) both groups. However, these changes between two groups were not significant difference.Both dance sport exercise in Quick step and aerobic dance exercise progrance in the present shedy demonshrated to improve similarly influence the cardiovascular endurance and decreased percentage of body fat. Therefore, it can be recommend both form of exercises for females with theire preference and aptitude to exercise with Quick step or aerobic dance. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศจังหวะควิ๊กสเตป และการเต้นแอโรบิกต่อความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายในผู้หญิงสุขภาพดี | en_US |
dc.title.alternative | Effect of Dance Sport Exercise in Quick Step and Aerobic Dance on Cardiovascular Endurance and Percentage of Body Fat in Healthy Female | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความทนทานของของระบบไหลเวียนโลหิตและเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย ระหว่างการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศในจังหวะควิ๊กสเตป และการเต้นแอโรบิก กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครเพศหญิง จำนวน 40 คน มีอายุเฉลี่ย 20.48 ± 0.64 ปี น้ำหนักเฉลี่ย 53.44 ±10.86 กิโลกรัม และส่วนสูงเฉลี่ย 159.10 ± 5.78 เซนติเมตร กลุ่มตัวอย่างเคยฝึกการเต้นลีลาศในจังหวะควิ๊กสเตปและแอโรบิก ขั้นพื้นฐานแล้วแต่ออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอถูกสุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศจังหวะควิ๊กสเตป และกลุ่มที่ 2 ออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิก ฝึกตามโปรแกรม 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ติดต่อกันเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ทำการทดสอบความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิตและเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายก่อนและหลังการฝึก 8 สัปดาห์ นำผลที่ได้จากการทดสอบมาหาค่าเฉลี่ยความแตกต่างของความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิตและเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย เมื่อครบ 8 สัปดาห์ เปรียบเทียบความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิตและเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายก่อนและหลังออกกำลังกาย 8 สัปดาห์ โดยใช้สถิติ paired t-test และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มโดยใช้สถิติ unpaired t-test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 พบว่า ทั้งสองกลุ่มมีความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิตหลังการฝึกออกกำลังกาย 8 สัปดาห์ มีค่าเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญ ( p<0.05) และเปอร์เซ็นต์ไขมันของร่างกายหลังการฝึกมีค่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ภายหลังการฝึกออกกำลังกาย 8 สัปดาห์ ค่าเฉลี่ยความแตกต่างของความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิตและเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายระหว่างกลุ่มฝึกลีลาศควิ๊กสเตปและเต้นแอโรบิก ไม่มีความแตกต่างกัน ดังนั้นการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ จังหวะควิ๊กสเตปและการเต้นแอโรบิกมีผลต่อความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายของเพศหญิง ทั้งสองรูปแบบสามารถเพิ่มอัตราความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิตได้ดีขึ้นและทำให้เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายของกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ลดลงได้ไม่ต่างกัน ดั้งนั้นสามารถนำไปแนะนำรูปแบบการออกกำลังกายสำหรับเพศหญิงได้ตามความชอบและความถนัดในการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ จังหวะควิ๊กสเตป หรือการเต้นแอโรบิกได้ต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.43 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.