Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา พรมวังขวา-
dc.contributor.authorวรินทร เทพวรรณen_US
dc.date.accessioned2020-08-03T08:47:35Z-
dc.date.available2020-08-03T08:47:35Z-
dc.date.issued2015-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69277-
dc.description.abstractThis study investigates biogas production from municipal solid waste and wood chip using dry-digestion technique. The experiments compare biogas produced efficiency at differences of mixture ratio of municipal solid waste (MSW) to wood chip. The ratio of MSW to wood chip are1:0, 2:1, 5:1 and 10:1. Each experiment was prepared by using 24 kg of MSW mixed with 6 kg of cow manure and 6 liters of water. Then, let the primary fermentation is closed tank for 14 days. The mixed is then added wood chip with the controlled ratio of MSW to wood chip. Fermentation tank size is 150 liters. Leachate is down-flow to 150 liters leachate tank connected to the bottom of fermentation tank. Daily leachate circulation is 50% by using a circulation pump. Gas production is stored in sampling gas bag, while daily gas production is measured. Fermentation period is 60 days. The results show that the ratio of MSW to wood chip of 5:1 produces maximum accumulative biogas, which is 339.7 liters. The ratio of 2:1, 1:0 and 10:1 produces 280.3, 244.95 and 236.2 liters respectively. The maximum percentage of methane is 57% at the ratio of MSW to wood chip of 2:1 and 5:1. The maximum heating value of methane is 6369.19 kJ. The ratio of 2:1, 1:0 and 10:1 heating value is 5304.38, 4431.12 and 4047.72 kJ respectively. At the ratio of 5:1, solid removal efficiency is 66%, COD removal efficiency is 78% and VFA/COD ratio is 0.372. Sludge remaining in ferment tank is then analyzed for N-P-K. The result show then N and K compositions meet the standard of organic fertilizer. P composition of the ration 10:1 meets the standard of organic fertilizer.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectก๊าซชีวภาพen_US
dc.subjectขยะชุมชนen_US
dc.subjectเศษไม้en_US
dc.subjectเทคนิคการย่อยสลายแบบแห้งen_US
dc.titleการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะชุมชนและเศษไม้โดยใช้เทคนิคการย่อยสลายแบบแห้งen_US
dc.title.alternativeBiogas production from municipal soil wastes and wood chips using dry-digestion techniqueen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc665.776-
thailis.controlvocab.thashก๊าซชีวภาพ -- การผลิต-
thailis.controlvocab.thashพลังงานชีวมวล-
thailis.controlvocab.thashพลังงานจากขยะ-
thailis.manuscript.callnumberว 665.776 ว173ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเปรียบเทียบอัตราส่วนขยะต่อเศษไม้โดยใช้เทคนิคการย่อยสลายแบบแห้งต่อประสิทธิภาพการเกิดก๊าซชีวภาพ ทำการทดลองทั้งหมด 4 ชุด ในอัตราส่วนขยะต่อเศษไม้ที่แตกต่างกันเป็น 1:0, 2:1, 5:1 และ 10:1 ตามลำดับ ในการทดลองแต่ละชุด ประกอบด้วยขยะอินทรีย์จำนวน 24 กิโลกรัม เตรียมหัวเชื้อจุลินทรีย์จากมูลวัวสดผสมน้ำ จำนวน 6 กิโลกรัมต่อน้ำ 6 ลิตร หมักทิ้งไว้ในระบบปิด 14 วัน จากนั้นผสมเศษไม้ในอัตราส่วนที่กำหนดไว้ นำวัตถุดิบที่เตรียมไปใส่ถังหมัก ขนาด 150 ลิตร แล้วปล่อยให้น้ำชะขยะไหลลงไปยังถังเก็บน้ำชะขยะ ขนาด 150 ลิตร ใช้เครื่องสูบน้ำวนน้ำชะขยะไปยังถังหมักทุกวันประมาณร้อยละ 50 ของปริมาณน้ำในระบบ และใช้ถุงเก็บก๊าซชีวภาพ ขนาด 20 ลิตร เก็บก๊าซมาจากถังหมักและถังเก็บน้ำชะขยะทุกวัน ใช้เวลาในการทดลอง 60 วัน พบว่า การหมักขยะต่อเศษไม้ในอัตราส่วน 5:1 ให้ปริมาณก๊าซชีวภาพสะสมสูงสุด เท่ากับ 339.7 ลิตรต่อขยะ 24 กิโลกรัม รองลงมาคือ อัตราส่วน 2:1, 1:0 และ 10:1 เท่ากับ 280.3 ลิตร, 244.95 ลิตร และ 236.2 ลิตร ตามลำดับ ให้ก๊าซมีเทนมากที่สุด คือ อัตราส่วน 2:1 และ 5:1 เท่ากับร้อยละ 57 และให้ค่าความร้อนของก๊าซมีเทนสูงสุดเป็น 6369.19 กิโลจูล รองลงมาคืออัตราส่วน 2:1, 1:0 และ10:1 เป็น 5304.38, 4431.12 และ 4047.72 กิโลจูล ตามลำดับ นอกจากนี้ การทดลองที่อัตราส่วน 5:1 สามารถกำจัดของแข็งสูงที่สุดคือร้อยละ 66 ประสิทธิภาพการกำจัดค่า COD สูงสุดคือร้อยละ 78 และอัตราส่วน VFA/COD สูงสุดคือ 0.372 การวิเคราะห์หาปริมาณธาตุ N, P และ K ของกากที่เหลือจากการหมัก พบว่า การทดลองทั้งหมด มีปริมาณธาตุ N และ K ผ่านมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ของกรมวิชาการเกษตร แต่หากพิจารณาจากปริมาณธาตุ P พบว่า อัตราส่วนขยะต่อเศษไม้ที่ 10:1 เหมาะแก่การนำไปใช้เป็นสารปรับปรุงดินที่สุด รองลงมาคือ อัตราส่วนขยะต่อเศษไม้ที่ 2:1, 1:0 และ 5:1 ตามลำดับ ดังนั้นสรุปได้ว่า อัตราส่วนขยะต่อเศษไม้ที่มีประสิทธิภาพที่สุดต่อการผลิตก๊าซชีวภาพคือ อัตราส่วน 5:1 และอัตราส่วนที่เหมาะสำหรับการนำกากที่เหลือไปใช้เป็นสารปรับปรุงดินที่สุดคือ อัตราส่วน 10:1en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.86 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.