Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69273
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวริษา วิสิทธิพานิช-
dc.contributor.authorพัทธพงศ์ พรมชัยen_US
dc.date.accessioned2020-08-03T08:00:20Z-
dc.date.available2020-08-03T08:00:20Z-
dc.date.issued2016-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69273-
dc.description.abstractIn the signal sender production of a case study in electronics industry, there a problem of high wastes level which effects to low productivity and high work in process (WIP) . These two factors were critical since they influence high production cost. Therefore, the purpose for this independent study was to increase productivity and reduce WIP of the signal sender production line. At the current state, the production line had average capacity of 3,388 pcs/day. The winding process was shown to be the bottleneck process. This independent study focused on reducing non-value added activities and number of operators in order to produce the same amount of production. First, this independent study applied Motion and Time study principle and we found that the total production time of the Signal Sender was 138.4 sec/pc and 63% of production time was the non values added activities. Second, the improvement techniques which were ECRS and Line balancing were applied to reduce the waste in production line. Finally, the one piece flow concept was adopted to reduce WIP in the production line. After the improvement techniques were implemented, the result showed that the independent study can achieve the research objective by increasing productivity from 242 pcs/person/day to 423 pcs/person/day or 75%. Moreover, WIP decreased from 199 pcs to 141 pcs or 29%.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectตัวส่งสัญญาณen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.titleการปรับปรุงผลิตภาพการผลิตตัวส่งสัญญาณในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.title.alternativeProductivity improvement of signal sender production in electronics industryen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc621.381-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมการผลิต-
thailis.manuscript.callnumberว 621.381 พ114ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในสายการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ของโรงงานแห่งหนึ่ง พบปัญหาว่ามีความสูญเปล่าในสายการผลิตสูง ส่งผลให้ผลิตภาพการผลิตต่ำและมีงานที่คงค้างในสายการผลิตสูงซึ่งสองปัจจัยนี้ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตที่สูง ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิตและลดจำนวนชิ้นงานที่คงค้างในสายการผลิตของตัวส่งสัญญาณ ปัจจุบันสายการผลิตตัวส่งสัญญาณนี้มีความสามารถในการผลิตงานได้ทั้งหมดเฉลี่ยวันละ 3,388 ชิ้น/วัน และมีกระบวนการพันลวดทองแดงด้วยเครื่องจักรกระบวนการที่เป็นคอขวด การเพิ่มผลิตภาพการผลิตของงานวิจัยนี้มุ่งเน้นเรื่องของการลดจำนวนพนักงานที่ใช้ในการผลิตลงโดยที่ยังสามารถรักษากำลังการผลิตของสายการผลิตตัวส่งสัญญาณที่เท่าเดิมได้ จากการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลาพบว่าเวลาที่ใช้ในการผลิตตัวส่งสัญญาณที่เกิดขึ้นจริงทั้งหมดในสายการผลิตคือ 138.4 วินาที/ชิ้น และพบว่า 63% เป็นความสูญเปล่าที่ไม่ก่อให้เกิดมูลค่ากับตัวส่งสัญญาณส่งผลให้ผลิตภาพการผลิตตัวส่งสัญญาณต่ำ จากนั้นจึงนำเทคนิค ECRS และการปรับสมดุลการผลิตมาช่วยลดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิตและการปรับสายการผลิตให้มีการไหลแบบทีละชิ้นเพื่อลดจำนวนงานคงค้างในสายการผลิต สรุปผลการดำเนินงานวิจัยในครั้งนี้สามารถเพิ่มผลิตภาพจากเดิม 242ชิ้น/คน/วัน เป็น 423ชิ้น/คน/วัน คิดเป็น 75% และสามารถลดจำนวนชิ้นงานที่คงค้างในสายการผลิตตัวส่งสัญญาณลงได้จากเดิม 199ชิ้นเป็น 141ชิ้น หรือคิดเป็น 29%en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.