Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69193
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อมลยา โกไศยกานนท์-
dc.contributor.authorณัฐยา สักเส็ดen_US
dc.date.accessioned2020-07-31T00:47:07Z-
dc.date.available2020-07-31T00:47:07Z-
dc.date.issued2015-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69193-
dc.description.abstractThe objective of this independent study is to investigate the factors affecting to the accounting of agricultural households of customer of Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives Maetha District branch Lampang Province. The data used in the study were collected from customers of Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives Maetha District branch Lampang Province. There were 240 customersattended to the project “Restore and develop profession” ofBank for Agriculture and Agricultural Cooperatives(BAAC) and the statistical results analyzedby using multiple regression analysis with method of ordinary least square. Independent variables of this study arehuman and society factor, household accounting comprehension factor,attitudeson doing household accounting. And dependent variables isdoing household accounting that measured from their different balances inThaweechok saving bank account before and after attending the project. After the project done,the results of the study shownthat human and society factor - the numbers of families,their accounting comprehension and attitudes on doing accounting have a significant positive relationship to their accounting. Therefore, the higher numbers of the families,the higherhousehold accounting comprehension factor and the higher attitudes on doing household account increase, the better they can do their own household accounting and their balances in Thaweechok saving bank account increased after attending the project. Butthe sub factors ofhuman and society factor - ages and incomes of families per year have a significantly negativerelationship to their accounting. As a result, the older ages and higher incomes of families per year they have, the less they do their own household accounting and the lower balances in Thaweechok saving bank they have.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาแม่ทะ จังหวัดลำปางในการจัดทำบัญชี ครัวเรือนen_US
dc.title.alternativeFactors Affecting Customers of Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives, Mae Tha District Branch, Lampang Province Towards Preparation of Household Accountingen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาแม่ทะ จังหวัดลำปางในการจัดทำบัญชีครัวเรือน โดยรวบรวมข้อมูลจากลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาแม่ทะ จังหวัดลำปางที่ผ่านการเข้าร่วมโครงการฟื้นฟูและพัฒนาอาชีพลูกค้าจำนวน 240คน ทำการวิเคราะห์ผลทางสถิติโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด การศึกษาครั้งนี้ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ปัจจัยด้านประชากรและสังคม ปัจจัยด้านความรู้ความเข้าใจในการจัดทำบัญชีครัวเรือน ปัจจัยด้านทัศนคติในการจัดทำบัญชีครัวเรือน และตัวแปรตามคือการจัดทำบัญชีครัวเรือน ซึ่งวัดจากการเปลี่ยนแปลงของยอดเงินในบัญชีออมทรัพย์ทวีโชคหลังจากผ่านโครงการฯ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านประชากรและสังคมคือจำนวนสมาชิกในครอบครัวปัจจัยด้านความรู้ความเข้าใจในการจัดทำบัญชีครัวเรือนและปัจจัยด้านทัศนคติในการจัดทำบัญชีครัวเรือนมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับการจัดทำบัญชีครัวเรือนอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งหากมีจำนวนสมาชิกในครอบครัวเพิ่มขึ้นความมีรู้ความเข้าใจในการจัดทำบัญชีครัวเรือนและมีทัศนคติในการจัดทำบัญชีครัวเรือนสูง จะส่งผลให้ประชากรสามารถจัดทำบัญชีครัวเรือนได้ดีและทำให้มียอดเงินคงเหลือในบัญชีออมทรัพย์ทวีโชคหลังเข้าร่วมโครงการฟื้นฟูและพัฒนาอาชีพเพิ่มขึ้น ส่วนปัจจัยด้านประชากรและสังคมซึ่งแบ่งเป็นปัจจัยย่อยคือ อายุและรายได้ภายในครอบครัวต่อปี มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับการจัดทำบัญชีครัวเรือนอย่างมีนัยสำคัญแสดงว่าหากอายุและรายได้ภายในครอบครัวต่อปีเพิ่มขึ้น จะส่งผลให้ประชากรจัดทำบัญชีครัวเรือนลดลง ซึ่งทำให้มียอดเงินคงเหลือในบัญชีออมทรัพย์ทวีโชคหลังเข้าร่วมโครงการฟื้นฟูและพัฒนาอาชีพลดลงen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.75 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.