Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69174
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปุญญิศา บุญตัน | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-30T06:15:41Z | - |
dc.date.available | 2020-07-30T06:15:41Z | - |
dc.date.issued | 2014-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69174 | - |
dc.description.abstract | The aim of this independent study was to study child nurturing methods of children with Autism and how such methods affected their development. The target group, obtained by purposed sampling, were two families with children with autism who attended the service Special Education Department of Rajanagarindra Institute of Child Development, Chiang Mai. Instruments used in the study were retrospection record form, In-depth interview, participant and non-participant observation, content analysis and description in the interpretation and conclusion. The result of the study was that to foster child development, children with autism were nurtured in two stages: First, the pre-diagnosis stage which involved child development observation, meeting with relevant experts, and by parents search for more information. Second was the post- diagnosis stage where the four following aspects were crucial to the case studies’ development: 1) Physical Development Enhancement which involved dietary changes and frequent meetings with physicians. 2) Emotional and Social Development Enhancement which involved self-observation and solution seeking and avoidance, frequent meetings with psychologists, facilitating interaction opportunities and leading by examples. 3) Linguistic Skills Development Enhancement which involved frequent meetings with speech therapists and consistently following their suggestions. 4) Thought and Intelligence Development Enhancement which involved child enrollment in accordance with individual intelligence, frequent meetings with special education teachers and provision of learning materials for the case studies. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการเลี้ยงดูเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กออทิสติก | en_US |
dc.title.alternative | Nurturing Guideline to Enhance Development of Children with Autism | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการเลี้ยงดูบุตรของผู้ปกครอง ที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กออทิสติก กลุ่มเป้าหมายคือ ครอบครัวเด็กออทิสติก ที่เข้ารับบริการ ในแผนกการศึกษาพิเศษ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 2 ครอบครัว ซึ่งได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบบันทึกข้อมูลย้อนหลัง การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างและการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม การวิเคราะห์ผลโดยการบรรยายพรรณนาในการตีความและสร้างข้อสรุป ผลการศึกษาสรุปได้ว่า ครอบครัวเด็กออทิสติกมีแนวทางในการเลี้ยงดูเพื่อส่งเสริมพัฒนาการบุตรโดยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1.การดูแลบุตรออทิสติกก่อนเข้ารับการวินิจฉัย จากแพทย์ ซึ่งมีประเด็นที่สำคัญคือ การสังเกตพัฒนาการของบุตร การพาบุตรไปพบผู้เชี่ยวชาญและการค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมและ 2.การดูแลเด็กออทิสติกหลังวินิจฉัยจากแพทย์ พบประเด็นที่สำคัญในการดูแลส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ 1) การส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย พบว่ามีการปรับดัดแปลงอาหารและพาไปพบนักกิจกรรมบำบัดอย่างสม่ำเสมอ 2) การส่งเสริมพัฒนาการทางด้านอารมณ์และสังคม พบว่ามีการสังเกตและเรียนรู้การแก้ปัญหาด้วยตนเอง หลีกเลี่ยงเหตุการณ์ พาไปพบนักจิตวิทยาอย่างสม่ำเสมอ เปิดโอกาสในการสร้างปฏิสัมพันธ์และทำให้ดูเป็นตัวอย่าง 3) การส่งเสริมพัฒนาการทางด้านภาษา พบว่า ผู้ปกครองพากรณีศึกษาไปพบนักอรรถบำบัดอย่างสม่ำเสมอและการทำตามคำแนะนำนักอรรถบำบัดที่บ้านด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอและ 4) การส่งเสริมพัฒนาการทางด้านความคิดและสติปัญญา พบว่าผู้ปกครองพาบุตรเข้ารับการศึกษาตามระดับชั้นเรียนพบครูการศึกษาพิเศษอย่างสม่ำเสมอและการจัดหาสื่อการเรียนการสอนของบุตรออทิสติก | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 3.86 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.