Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69169
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. อุดมโชค อาษาวิมลกิจ-
dc.contributor.authorกิ่งกาญจน์ แสงอาทิตย์en_US
dc.date.accessioned2020-07-30T01:24:29Z-
dc.date.available2020-07-30T01:24:29Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69169-
dc.description.abstractThe study of Analysis of Necessity and Development Approach for Operating Staffs, the Faculty of Business Administration, Chiang Mai University aimed to examine the current status of self development in part of knowledge, ability, and operational skill. There were also studying about the necessity for the development of training, seminar, observation trips, further education, and developing approach for operating staffs of the Faculty of Business Administration, Chiang Mai University. The samples of this research were 55 operating staffs of the Faculty of Business Administration, Chiang Mai University that the data were stored up to 100 percent and interviewing one executive of the faculty. Methods of data analysis were frequency distributions, percentage, mean, and standard deviation. The results of the study were shown as below: 1. The current status; the university officials had the development in part of knowledge, ability, and skill at a high level. The university temporary employees also had the development of knowledge and ability at a high level but the development of skill was in a middle level. 2. The university officials had the necessity for the development of training at a highest level and the following necessities were observation trips, further education, and seminar, respectively. The university temporary employees had the necessity for the development of further education at a highest level and the following necessities were seminar, observation trips, and training, respectively. 3. The faculty must have pushed the concrete policy about making Individual Development Plan (IDP) by assignment of responsibility of human resources development for the personnel department of the faculty directly. Furthermore, the faculty should focus on the development model to match the type and necessity of the staffs. The study shows that the university officials should be focused on the training model which can develop their knowledge and skill in a particular subject to apply to the jobs that are more specialized or in a higher level. The university temporary employees should be focused on using a model of further education in a higher degree. However, the faculty should consider the policy about the career stability of the university temporary employees.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ความจำเป็นและแนวทางการพัฒนาบุคลากร สายปฏิบัติการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeAnalysis of Necessity and Developing Approach for Operating Staffs, the Faculty of Business Administration, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์ความจำเป็นและแนวทางการพัฒนาบุคลากรสายปฏิบัติการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานะปัจจุบันในการพัฒนาตนเองด้านความรู้ ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติงาน ความจำเป็นในการพัฒนาด้านการฝึกอบรม การสัมมนา การดูงาน การศึกษาต่อ และแนวทางการพัฒนาบุคลากรสายปฏิบัติการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรสายปฏิบัติงาน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 55 คน สามารถเก็บข้อมูลได้ครบทั้ง 55 คน และสัมภาษณ์ผู้บริหารคณะ จำนวน 1 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1. สถานะปัจจุบัน พนักงานมหาวิทยาลัยประจำ มีการพัฒนาด้านความรู้ ด้านความสามารถ และด้านทักษะอยู่ในระดับมาก สำหรับพนักงานชั่วคราวมีการพัฒนาด้านความรู้ ความสามารถ อยู่ในระดับมาก ส่วนการพัฒนาด้านทักษะอยู่ในระดับปานกลาง 2. พนักงานมหาวิทยาลัยประจำมีความจำเป็นในการพัฒนาในด้านฝึกอบรมมากที่สุด รองลงไปได้แก่ การดูงาน การศึกษาต่อ และการสัมมนา ตามลำดับ สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยชั่วคราว(ส่วนงาน) มีความจำเป็นในการพัฒนาด้านการศึกษาต่อมากที่สุด รองลงไปได้แก่การสัมมนา การศึกษาดูงาน และการฝึกอบรม ตามลำดับ 3. คณะต้องมีการผลักดันนโยบายการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) ให้เป็นรูปธรรม โดยมอบหมายให้หน่วยพัฒนาบุคลากรของคณะมีหน้าที่รับผิดชอบด้านการพัฒนาบุคลากรโดยตรง นอกจากนั้นคณะควรมุ่งเน้นรูปแบบการพัฒนาให้ตรงกับประเภทและความจำเป็นของพนักงาน จากการศึกษาในครั้งนี้พบว่าพนักงานประจำควรมุ่งเน้นรูปแบบการฝึกอบรมที่สามารถพัฒนาความรู้และทักษะความชำนาญได้เฉพาะเรื่อง เพื่อนำไปใช้กับงานที่มีความเฉพาะมากขึ้นหรือในระดับที่สูงขึ้น ส่วนพนักงานชั่วคราวควรมุ่งเน้นการใช้รูปแบบการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ทั้งนี้คณะควรพิจารณานโยบายด้านความมั่นคงทางอาชีพการงานของพนักงานชั่วคราวร่วมด้วยen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.58 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.