Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69140
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. ยงยุทธ ยะบุญธง-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. ชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.authorสมพิศ ศรีชมภูen_US
dc.date.accessioned2020-07-27T07:59:59Z-
dc.date.available2020-07-27T07:59:59Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69140-
dc.description.abstractThis independent study has 2 objectives which are 1) to study the problems and suggestion of collegial supervision in Maewinsamakkee School, Mae Wang District, Chiang Mai Province and 2) to study the guidelines for Collegial Supervision in Maewinsamakkee School, Mae Wang District, Chiang Mai Province.There are 3 procedures of this study. 1) study the problems and suggestion of collegial supervision in Maewinsamakkee School, Mae Wang District, Chiang Mai Province. The population used in this study were 36 teachers of Maewinsamakkee School in the academic year 2557. The tools used in this study was questionnaires and the data was analyzed by using average and percentage. 2) study and draft the guidelines for Collegial Supervision in Maewinsamakkee School. The populations used in this study were administrators or involves supervision outstanding from the school’s collegial supervision. The tools used in this study were questionnaire and the data was analyzed by inductive inference. 3) examine the guideline of collegial supervision. The populations for this study were 5 experts and the tools used in this study were the examination form of possibility, suitability, and usefulness. The data was analyzed by using average (µ) and standard deviation (σ). The findings found that the conditions of collegial supervision in Maewinsamakkee School, Mae Wang District, Chiang Mai Province was problematic. Considering each aspect it was found that all four of the collegial supervision was as follows : administrator and teachers lack of awareness about the project procedures of collegial supervision, current state of collegial supervision, problems and actual needs for supervision. The problem of collegial supervision in Maewinsamakkee school found that the data analysis based on various aspects also has little practice and a lack of clarity, administrators and teachers are not involved in targeting the collegial supervision , no meetings were planned for supervision ,teachers were not involved in planning and projects for the collegial supervision, administrator do not oversee themselves, supervisors lacked the knowledge and understanding about collegial supervision and lacked information from evaluation to develop and improve operations to achieve better supervision. The guidelines of collegial supervision in Maewinsamakke School, Mae Win District focused on the committee’s responsible to clearity, planned by the participation of teachers and school personnel, action supervision in a defined continuous calendar, to target the supervision and inform teachers and school personnel clearly, as well as to evaluate and report the results to teachers and school personnel to improve development operations even further. The results of possibility, suitability and usefulness were at the highest level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนแม่วินสามัคคี อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for Collegial Supervision Operation in Mae Win Samakkee School, Mae Wang District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะใน การแก้ปัญหาการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนแม่วินสามัคคี อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนแม่วินสามัคคี อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ แบ่งขั้นตอนการศึกษาออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะ ในการแก้ปัญหาการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนแม่วินสามัคคี ประชากรที่ใช้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูโรงเรียนแม่วินสามัคคี อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2557 จำนวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่และค่าร้อยละ ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาและร่างแนวทางการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนแม่วินสามัคคี ประชากร ที่ใช้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการนิเทศภายในจากโรงเรียนที่ดีเด่นด้านการนิเทศภายใน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปแบบอุปนัย และขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบร่างแนวทางการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนแม่วินสามัคคี ประชากรเลือกแบบเจาะจงจากผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความสามารถด้านการนิเทศภายในเป็นอย่างดี จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ของ ร่างแนวทางการดำเนินการนิเทศภายใน สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า การดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนแม่วินสามัคคี อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ทุกด้านเป็นปัญหา และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ขั้นตอนการดำเนินการนิเทศภายในโรงเรียน 4 ขั้นตอน เป็นปัญหาทุกข้อ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูขาดความตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการนิเทศอย่างแท้จริง การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่าง ๆ ของโรงเรียนมีการปฏิบัติน้อยและไม่ชัดเจน ผู้บริหารสถานศึกษาและครูไม่มีส่วนร่วมในการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายการนิเทศภายในโรงเรียน ไม่มีการประชุมวางแผนประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนิเทศภายในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง บุคลากรในสถานศึกษาขาดการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการนิเทศและโครงการนิเทศในโรงเรียน ผู้นิเทศที่ได้รับการแต่งตั้งไม่ได้ดำเนินตามขั้นตอนที่กำหนดไว้อย่างจริงจัง ผู้บริหารสถานศึกษาไม่ดำเนินการนิเทศด้วยตนเอง ผู้นิเทศขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนิเทศภายในโรงเรียน รวมทั้งขาดการประเมินผลอย่างต่อเนื่องและขาดการนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินมาพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินการนิเทศให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สำหรับแนวทางการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนแม่วินสามัคคี อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ คือ ให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบให้ชัดเจนและเหมาะสม มีการการวางแผนโดยการอาศัยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรในโรงเรียน มีการดำเนินการนิเทศภายใน อย่างต่อเนื่องตามปฏิทินที่กำหนดไว้อย่างชัดเจน มีการกำหนดเป้าหมายของการนิเทศและแจ้งให้ครูและบุคลากรในโรงเรียนได้รับทราบอย่างทั่วถึง รวมทั้งมีการประเมินและรายงานผลการนิเทศภายในให้แก่ครูและบุคลากรในโรงเรียนได้รับทราบเพื่อนำข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนาการดำเนินงานนิเทศให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ส่วนผลการตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.