Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69113
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผศ. ดร. เยาวเรศ เชาวนพูนผล | - |
dc.contributor.advisor | รศ. ดร. ธเนศ ศรีวิชัยลำพันธ์ | - |
dc.contributor.author | พุทธินันทน์ กันทะมอย | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-25T03:05:02Z | - |
dc.date.available | 2020-07-25T03:05:02Z | - |
dc.date.issued | 2015-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69113 | - |
dc.description.abstract | This study has objectives to study the agriculturist’s attitude towards the acceptance of Longan growing, and to analyze the factors affecting the acceptance of replacing the rice production by Longan growing. And study the agriculturist’s transferring trend of Longan growing and rice production when the market situation and the production changes in Doi Lor District, Chiang Mai Province. Data collected by questionnaire and interviewed 200 of Longan grower, 100 of rice production farmers and 100 of agriculturists who do both growing Longan and producing rice. Using Tobit model to Analyse the factors affecting agriculturist acceptance. In the agriculturist’s attitude, found that the factors that give a high affect to the Longan growers are: support by family members, see others grower has a good yield, recommended by neighbors or relatives, Langan has long harvesting time for one crop, Longan has good price and market, Longan has low production costs, Longan has less hassle on implementing and caring, and the area that have a shortage of water is too risky to do the rice production. The factors that give a high affect to the rice production farmers are: to have own rice to consume, encouraged by family members to continue the rice cultivation, to be able to do others crop in rotation, and Longan takes at least three years until the harvest time. The factors that give a high affect to the agriculturists who do both growing Longan and producing rice are: see others grower has a good yield, Langan has long harvesting time for one crop, Longan has good price and market. Factors affecting the acceptance of replacing the rice production by Longan growing, found that the factors that affect the acceptance of increasing the Longan growing are: having others career beside of agriculturist and holding more paddy field. The factors that affect the acceptance of decreasing the Longan growing are: having an education about Longan fruit, holding more paddy field, increasing of family member as a workforce and increasing age of agriculturist. In the transferring trend of Longan growing, found that the situation that affect the Longan growing to remain growing Longan are market competition resulted to the depressing of Longan price and technology that can reduce labor costs and create better rice yield. The situation that results the agriculturist transferring to do the rice production is the government’s rice price guarantee scheme to get 15,000 Baht per ton. The situation that results the rice production farmers transferring to do the Longan growing are the increasing of Longan prices and the price quarantine by government. In the other hands, the situation that results the less transferring to the Longan growing are the cancelation of the government’s rice price guarantee scheme and the depressing of rice price. However, the agriculturists who do both growing Longan and producing rice, there is the same result in any situation, they still maintain on growing Longan. The situation that lead the rice production farmers to transfer to grow Longan are the increasing of Longan prices and the price quarantine by government and the situation that lead the rice production farmer to remain producing rice are the cancelation of the government’s rice price guarantee scheme and the depressing of rice price. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการปลูกลำไยทดแทนข้าวในอำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Factors Affecting Replacement of Rice Cultivation with Longan in Doi Lo District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของเกษตรกรที่ยอมรับการปลูกลำไย รวมถึงวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการปลูกลำไยทดแทนการปลูกข้าว และศึกษาแนวโน้มการปรับการปลูกลำไยและข้าวของเกษตรกรหากสถานการณ์ด้านการตลาดและการผลิตเปลี่ยนไปของเกษตรกรอำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สัมภาษณ์จากเกษตรกรผู้ปลูกลำไย 200 ราย เกษตรกรผู้ปลูกลำไยและข้าว 100 ราย และเกษตรกรผู้ปลูกข้าว 100 ราย โดยใช้แบบจำลองโทบิต วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับของเกษตรกร ทัศนคติของเกษตรกรพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลในระดับมากต่อเกษตรกรที่ปลูกลำไยเพียงอย่างเดียว คือ การสนับสนุนจากสมาชิกในครัวเรือน การเห็นผู้อื่นปลูกลำไยแล้วได้ผลผลิตดี การแนะนำของเพื่อนบ้านหรือญาติ การที่ลำไยปลูกครั้งเดียวสามารถเก็บผลผลิตได้นาน ลำไยเป็นผลผลิตที่มีตลาดรองรับและมีราคาดี ลำไยมีต้นทุนการผลิตต่ำ การปฏิบัติและการดูแลรักษาลำไยไม่ยุ่งยาก และพื้นที่ของเกษตรกรมีปัญหาขาดแคลนน้ำทำให้มีความเสี่ยงที่ต้องปลูกข้าวแค่ครั้งเดียว สำหรับเกษตรกรที่ปลูกข้าวเพียงอย่างเดียวปัจจัยที่ส่งผลในระดับมากคือ ความต้องการมีข้าวไว้บริโภคเอง สมาชิกในครอบครัวยังคงสนับสนุนให้ปลูกข้าว สามารถในการปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียนกับการปลูกข้าวได้และลำไยเป็นพืชที่ใช้เวลาปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวต้องใช้เวลาอย่างน้อย 3 ปี และเกษตรกรที่ปลูกทั้งลำไยและข้าว ในส่วนของลำไย ปัจจัยที่ส่งผลในระดับมากคือการเห็นผู้อื่นปลูกลำไยแล้วได้ผลผลิตดี ลำไยลงทุนครั้งเดียวสามารถเก็บผลผลิตได้ยาวนาน ลำไยเป็นผลผลิตที่มีตลาดรองรับ และลำไยเป็นผลผลิตที่มีราคาดี ในส่วนของข้าวปัจจัยที่ส่งผลในระดับมากคือ สมาชิกในครอบครัวสนับสนุนให้ปลูกข้าว ปัจจัยส่งผลต่อการยอมรับการปลูกลำไยทดแทนการปลูกข้าว พบว่าตัวแปรที่ส่งผลให้เกษตรกรยอมรับการปลูกลำไยเพิ่มขึ้นคือ เกษตรกรมีอาชีพอื่นนอกเหนือจากการเกษตรและ พื้นที่ถือครองที่เป็นที่นาเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัยที่ทำให้เกษตรกรยอมรับการปลูกลำไยลดลงคือ เกษตรกรได้รับการอบรมเกี่ยวกับลำไย จำนวนแปลงปลูกของพื้นที่ที่เป็นที่นาเพิ่มขึ้น จำนวนแรงงานในครอบครัวเพิ่มขึ้น และอายุของเกษตรกรเพิ่มขึ้น แนวโน้มการปรับการปลูกลำไยของเกษตรกรพบว่า สถานการณ์ที่ส่งผลให้เกษตรกรที่ปลูกลำไยยังคงปลูกลำไยเหมือนเดิมมากที่สุดคือ เกิดการแข่งขันด้านการตลาดทำให้ราคาลำไยตกต่ำและเทคโนโลยีสามารถลดแรงงานและสร้างผลผลิตข้าวได้ดี และสถานการณ์ที่ส่งผลให้เกษตรกรปรับไปปลูกข้าวมากที่สุด คือ รัฐบาลประกันราคาข้าวตันละ 15,000 บาทต่อตัน สำหรับสถานการณ์ที่ทำให้เกษตรกรที่ปลูกข้าวเพียงอย่างเดียวปรับไปปลูกลำไยมากที่สุดคือลำไยมีราคาสูงขึ้นและรัฐบาลประกันราคาลำไย โดยมีสถานการณ์ที่ทำให้เกษตรกรปรับไปปลูกลำไยน้อยที่สุดคือ นโยบายจำนำข้าวถูกยกเลิกและราคาข้าวตกต่ำ ในส่วนของเกษตรกรที่ปลูกทั้งลำไยและข้าวทุกสถานการณ์มีผลเท่ากันที่ส่งผลให้เกษตรกรยังคงปลูกลำไยเหมือนเดิม โดยมีสถานการณ์ที่ทำให้เกษตรกรปรับพื้นที่ปลูกข้าวไปปลูกลำไยมากที่สุดคือ ลำไยมีราคาสูงขึ้นและรัฐบาลประกันราคาลำไย และสถานการณ์ที่ทำให้เกษตรกรยังคงปลูกข้าวเหมือนเดิม คือ นโยบายจำนำข้าวถูกยกเลิกและราคาข้าวตกต่ำ | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.92 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.