Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ก้องภู นิมานันท์-
dc.contributor.authorศุภรางค์ วรรณพิบูลย์en_US
dc.date.accessioned2020-07-25T03:04:25Z-
dc.date.available2020-07-25T03:04:25Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69107-
dc.description.abstractThe objective of this independent study was to study factors, which affected quality of work life of operational level employees at JPM Sausage Company Limited in Ongkarung district, Nakorn Nayok province. The analysis was based on the concept of Quality of Work life, Management System of Quality of Work Life (MS-QWL) by The Human Capacity Building institute, The Federation of Thai Industries. The data was collected by questionnaire distributed to 200 operational level employees of JPM Sausage Company Limited in Ongkarung district, Nakorn Nayok province. The data was analyzed using descriptive statistics, namely frequency, percentage, mean, Correlation Analysis, and Multiple Regression Analysis. The results of the study showed that the most questionnaire respondents were male (55%), 36-45 years old (35%) and graduated with Mathayom 6 certification (75%). Most were paid monthly (53%) and stationed at packing section (50%). They had been working at the company over 5 years (39.5%). The operational level employees’ opinion towards their overall quality of work life at the company was at the high level. The 6 factors affecting the quality of work life were ranked at high level in following order: environment, mind, social relation, spirituality and body, by the way, life stability was ranked at the medium level. The relation between the 6 factors and the overall the quality of work life was at the statistically significance level of 0.05, and the relation was at the high level, in the same direction. The multiple regressions also shown the positive variation (R = 0.616), the predictability ability was at 38%. The 62% of their quality of work life was body and spirituality, which were the factors that affected overall quality of work life by statistic significantly.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัท เจพีเอ็ม ซอสเซส จำกัด อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายกen_US
dc.title.alternativeQuality of Work Life of Operational-Level Employees at JPM Sausage Company Limited, Ongkharak District, Nakorn Nayok Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระเรื่องคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัท เจพีเอ็ม ซอสเซส จำกัด อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัท เจพีเอ็ม ซอสเซส จำกัด โดยได้ใช้แนวคิดคุณภาพชีวิตการทำงาน (Quality of Work life) ตามมาตรฐานระบบการบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการทำงานในองค์การ (Management System of Quality of Work Life: MS-QWL) ของสถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย การศึกษาในครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามตามมาตรฐาน MS-QWL ทำการสอบถามจากพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัท เจพีเอ็ม ซอสเซส จำกัด อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก จำนวน 200 ราย โดยสามารถเก็บแบบสอบถามได้ทั้งหมด ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Means) และใช้สถิติอ้างอิง ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษานี้พบว่าพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัท เจพีเอ็ม ซอสเซส จำกัด อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 55.00อายุ 36-45 ปี ร้อยละ 35.00 การศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลายร้อยละ 75.00 มีระยะเวลาทำงานในสถานประกอบการ5 ปีขึ้นไป ร้อยละ 39.50 ทำงานในฝ่ายผลิตแผนกบรรจุร้อยละ 50.00 มีประเภทการจ้างแบบรายเดือน ร้อยละ53.00 จากระดับความรู้สึก/รับรู้ในปัจจัยทั้ง 6 ด้าน มีระดับค่าเฉลี่ยในภาพรวม ระดับมาก ซึ่งปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยในระดับมากโดยเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย คือ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ด้านจิตวิญญาณ และด้านร่างกาย ส่วนปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยในระดับปานกลาง คือ ด้านความมั่นคงในชีวิต โดยระดับความรู้สึก/รับรู้ด้านการทำงานโดยรวมมีค่าเฉลี่ยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการทำงานโดยรวมกับปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานทั้ง 6 ด้าน มีการแปรผันตามกันในเชิงบวก (R=0.616) ซึ่งสามารถพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานโดยรวมได้ร้อยละ 38.00 ส่วนคุณภาพชีวิตการทำงาน อีกร้อยละ 62.00 ของพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัท เจพีเอ็ม ซอสเซส จำกัด เป็นผลที่เกิดจากด้านอื่นๆ และเมื่อพิจารณาจากค่านัยสำคัญทางสถิติ พบว่าปัจจัยด้านร่างกาย และด้านจิตวิญญาณมีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพชีวิตการทำงานโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.67 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.