Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69103
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.วรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorพงศ์นารถ พจน์สุจริตen_US
dc.date.accessioned2020-07-25T03:04:04Z-
dc.date.available2020-07-25T03:04:04Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69103-
dc.description.abstractThe purposes of this independent research were 1) to study the work happiness levels of members of staff who have been working at Li Hospital, 2) to study the processes affecting happiness level of personnel. The study was both a quantitative research and a qualitative research. In the case of quantitative research, a Happinometer was adjusted from Maslow’s Hierarchical Theory of Motivation by Thai Health Promotion Foundation. Data had been collected through questionnaires, while the sample consisted of 240 participants who have been working at Li Hospital except employees from other organizations and daily hire employees. Statistics used for data analysis included Summated Rating or Likert Method which the opinions were divided into 5 levels. In addition, this research also interviewed members of staff in the Happy Work Place Committee and 5 other relevant people, in order to obtain the factors that made employees happy during working time. The result of this study revealed that the happiness levels of a total of 215 respondents which represented as 90 per cent of the total sample scored at 3.59 points out of 5. In the process of making Li Hospital employees work happily, it was found that the hospital could create some good processes in order to make employees mostly satisfied. However, there were few processes which did not receive a good score and as a result these factors could not make the employees happy during working time.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสุขในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลลี้ จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeWorking Happiness of Lee Hospital’s Staff, Lamphun Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในการค้นคว้าแบบอิสระ เรื่อง ความสุขในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลลี้ จังหวัดลำพูน มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ ประกอบด้วย 1) เพื่อศึกษาถึงระดับความสุข ของบุคลากรโรงพยาบาลลี้ 2) เพื่อศึกษาถึงกระบวนการที่ทำให้บุคลากรโรงพยาบาลลี้ ทำงานได้อย่างมีความสุข โดยเป็นการศึกษาในรูปแบบผสม ทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และ การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ในส่วนการวิจัยเชิงปริมาณได้นำการประเมินรูปแบบ Happinometer หรือ เครื่องมือในการวัด ติดตาม และประเมินผลความสุขคนทำงาน 9 มิติ ซึ่งทางสำนักสนับสนุนสุขภาวะองค์กร สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้นำแนวคิดของทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ (Maslow's Hierarchical Theory of Motivation) มาประยุกต์ใช้ วัดความสุขของคนทำงาน ด้วยการแจกแบบสอบถาม (Questionnaire) ในกลุ่มตัวอย่างที่จะทำการศึกษาคือ บุคลากรที่ทำงานภายในโรงพยาบาลลี้เท่านั้น ไม่นับรวมบุคลากรที่ได้จ้างเหมาจากองค์กรอื่นและบุคลากรที่จ้างเหมาแบบรายวัน จำนวนทั้งหมด 240 คน มาวิเคราะห์โดยใช้คำถามมาตรวัดแบบ Summated Rating หรือ Likert Method แบ่งระดับความคิดเห็นเป็น 5 ระดับด้วยกัน นอกจากนี้ยังได้ทำการสัมภาษณ์ คณะกรรมการ happy work place และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องจำนวน 5 ท่าน เพื่อทราบถึงกระบวนการที่ได้กระทำขึ้นเพื่อให้บุคลากร ทำงานอย่างมีความสุข ผลการศึกษาพบว่า มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดจำนวน 215 คน คิดเป็นร้อยละ 90 โดยความสุขในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลลี้ จังหวัดลำพูน มีความสุขในการทำงานมาก ได้คะแนน 3.59 จากคะแนนเต็ม 5 ในส่วนกระบวนการที่ทำให้บุคลากรโรงพยาบาลลี้ ทำงานได้อย่างมีความสุข จากการศึกษาพบว่า กระบวนการต่าง ๆ ที่ทางโรงพยาบาลได้จัดทำขึ้น สามารถตอบสนองความสุขของบุคลากรโรงพยาบาลลี้ได้เป็นอย่างดี มีเพียงบางกระบวนการเท่านั้นยังไม่สามารถตอบสนองความสุข ของบุคลากรได้ ซึ่งสามารถแยกได้เป็น 2 กรณีด้วยกัน ได้แก่ กระบวนการนั้นได้มีการจัดทำขึ้นแล้ว แต่ยังไม่สามารถตอบสนองได้ดีเท่าที่ควร และยังไม่มีกระบวนการที่ทำให้บุคลากรทำงานอย่างมีความสุขen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.