Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69092
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุฑาทิพย์ เฉลิมผล | - |
dc.contributor.advisor | บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล | - |
dc.contributor.advisor | ถาวร อ่อนประไพ | - |
dc.contributor.author | ภูษิต สอนศรี | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-24T08:50:48Z | - |
dc.date.available | 2020-07-24T08:50:48Z | - |
dc.date.issued | 2015-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69092 | - |
dc.description.abstract | The objective of the study on agriculturists’ opinion towards agroforestry system for soil and water conservation in Huay Hom Sub-District, Mae La noi District, Mae Hong Son Province were to find out the agriculturists’ opinion toward planting support by agroforestry system to conserve soil and water and to determine difficulties and suggestions for such system. The study was conducted among 79 agricultural families who already planted their crops by agroforestry system to conserve soil and water and 86 agricultural families who did not employ the system in Huay Hom Sub-District, Mae La noi District, Mae Hong Son Province. The study tools for collecting data was interview form and the study data was analyzed by statistical analysis which included frequency, percentage, means, maximum, minimum, standard deviation and Chi-square. The study revealed that most of the agriculturists who planted their crops with the agroforestry system were between 41-50 years of age, graduated Prathomsuksa 6, had 4-6 family members, earned 25001-50000 baht and owned 6-10 rai of agricultural areas. For instance, those who had their own land owned 6-10 rai and those who leased the land for planting occupied 1-5 rai. Most of them did paddy farming and planted their crops with agroforestry system for 1-5 years. Apart from the above group, the agriculturists who had never planted their crops with agroforestry system were 31-40 years of age, graduated with Mattayomsuksa, had 4-6 family members, earned 25001-50000 Baht and occupied 1-5 rai. In addition, those who had their own land owned 1-5 rai and those who leased the land for planting occupied 1-5 rai. The others who occupied other areas (public) had 1-5 rai of paddy farming. The agriculturists’ opinion towards planting in agroforestry system for soil and water conservation included that they agreed with the support on this system with the means in high level, so did those who had never planted their crops with this system. For the knowledge and understanding of the agriculturists in the system, most of them had high level of knowledge, 89.9 percent, and for those who had never employed the system, most of them also had high level of knowledge on this system, 91.9 percent. The relationship between personal nature, economic and social natures, knowledge and understanding, and agriculturists’ opinion on the support of planting with agroforestry system to conserve soil and water revealed that the factors, which were related at the significant level 0.05, of the agriculturists who planted their crops with agroforestry system were that knowledge and understanding was related to the support on planting in agroforestry system to conserve soil and water, natural resources and forest recovery and awareness creation. For the educational level and the number of family member, both were related with the support on agroforestry system for water conservation and awareness creation. For the study of the agriculturists who had never employed the system, it consisted of soil conservation was related to their average income of the previous year, and their knowledge and understanding. In addition, creating awareness was related to their knowledge and understanding. The difficulties of the study was found that local language was used to communicate and the agriculturists did not understand Thai language well enough and the study areas were remote. For the next study, there should be building the understanding of the agriculturists who could communicate Thai language in order to communicate and make them understand the support of agroforestry system to conserve soil and water. | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | เกษตรกร | en_US |
dc.subject | ระบบวนเกษตร | en_US |
dc.subject | การอนุรักษ์ดินและน้ำ | en_US |
dc.title | ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการส่งเสริมในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ ตำบลห้วยห้อม อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน | en_US |
dc.title.alternative | Farmers' opinion towards extension of agroforestry systems for soil and water conservation, Huay Hom sub-district, Mae La Noi district, Mae Hong Son province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 634.99 | - |
thailis.controlvocab.thash | ระบบวนเกษตร -- แม่ลาน้อย (แม่ฮ่องสอน) | - |
thailis.controlvocab.thash | วนเกษตร | - |
thailis.controlvocab.thash | การส่งเสริมการเกษตร | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 634.99 ภ418ค | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการส่งเสริมในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ ตำบลห้วยห้อม อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการนำแนวทางส่งเสริมการปลูกพืชในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำไปปฏิบัติหาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเสริมการปลูกพืชในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ และศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการส่งเสริมการปลูกพืชในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำของตำบลห้วยห้อม อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน การศึกษาครั้งนี้ศึกษาเฉพาะกลุ่มเกษตรกรที่ทำการปลูกพืชในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำที่ได้นำไปปฏิบัติแล้ว จำนวน 79 ครัวเรือน และเกษตรกรที่ยังไม่ได้ทำการปลูกพืชในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ จำนวน 86 ครัวเรือน ของตำบลห้วยห้อม อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มเกษตรกรที่ทำการปลูกพืชในระบบวนเกษตรใหญ่ มีอายุระหว่าง 41-50 ปี จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีสมาชิกในครอบครัว 4-6 มีรายได้ระหว่าง 25,001-50,000 บาท มีพื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด 6-10 ไร่ โดยส่วนใหญ่แล้วผู้ที่มีพื้นที่ทำการเกษตรของตนเองมีขนาดพื้นที่ 6-10 ไร่ และผู้ที่เช่าพื้นที่ทำการเกษตรมีขนาดพื้นที่ 1-5 ไร่ ซึ่งทำการปลูกข้าวเป็นส่วนมากและเคยปลูกพืชในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ เป็นเวลา 1-5 ปี และกลุ่มเกษตรกรที่ไม่เคยทำการปลูกพืชในระบบวนเกษตรส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 31 - 40 ปี จบมัธยมศึกษา มีสมาชิกในครอบครัว 4-6 คน มีรายได้ระหว่าง 25,001 - 50,000 บาท มีพื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด 1-5 ไร่โดยส่วนใหญ่แล้วผู้ที่มีพื้นที่ทำการเกษตรของตนเองมีขนาดพื้นที่ 1 5 ไร่ ผู้ที่เช่าพื้นที่ทำการเกษตรขนาดพื้นที่ 1-5 ไร่ และผู้ที่มีพื้นที่อื่นๆ (ที่สาธารณะ) มีขนาดพื้นที่ 1-5 ไร่ ซึ่งทำการปลูกข้าว ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการส่งเสริมการการปลูกพืชในระบบระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ พบว่า กลุ่มเกษตรกรที่ทำการปลูกพืชในระบบวนเกษตรเห็นด้วยกับการส่งเสริมเฉลี่ยในระดับสูงเช่นเดียวกับกลุ่มเกษตรกรที่ไม่เคยทำการปลูกพืชในระบบวนเกษตร ส่วนระดับความรู้และความเข้าใจของเกษตรกรในการส่งเสริมการเกษตรระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำพบว่ากลุ่มเกษตรกรที่ทำการปลูกพืชในระบบวนเกษตรส่วนใหญ่มีความรู้ในระดับสูงคิดเป็น ร้อยละ 89.9 และกลุ่มเกษตรกรที่ไม่เคยทำการปลูกพืชในระบบวนเกษตรส่วนใหญ่มีความรู้ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 91.9 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคล เศรษฐกิจและสังคม และความรู้และความเข้าใจของเกษตรกรกับความคิดเห็นของเกษตรกรในการส่งเสริมการปลูกพืชในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ของกลุ่มเกษตรกรที่ทำการปลูกพืชในระบบวนเกษตร คือ ความรู้ความเข้าใจของเกษตรกร มีความสัมพันธ์กับการส่งเสริมการเกษตรในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้และการสร้างจิตสำนึก ส่วนระดับการศึกษา และจำนวนสมาชิกในครัวเรือน มีความสัมพันธ์กับการส่งเสริมในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์น้ำ และการสร้างจิตสำนึก สำหรับการศึกษาในกลุ่มเกษตรกรที่ไม่เคยทำการปลูกพืชในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ คือ ด้านการอนุรักษ์ดิน มีความสัมพันธ์กับรายได้เฉลี่ย 1 ปีที่ผ่านมา และความรู้ความเข้าใจ และการสร้างจิตสำนึกมีความสัมพันธ์กับความรู้ความเข้าใจ ปัญหาอุปสรรคในการศึกษาวิจัยพบว่า ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารซึ่งเป็นภาษาถิ่น และเกษตรกรมีความเข้าใจในภาษาไทยไม่ดีนัก และสภาพพื้นที่มีความทุรกันดาร ในการดำเนินการวิจัยในครั้งต่อไป ควรมีการสร้างความเข้าใจแก่เกษตรกรที่สามารถเข้าใจภาษาไทยได้ดี เพื่อช่วยในการสื่อสารและทำความเข้าใจแก่เกษตรกรที่รับการส่งเสริมในระบบวนเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.72 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.