Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69089
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. นฤมล กิมภากรณ์-
dc.contributor.authorพิรีย์ลักษณ์ ไชยกัณทาen_US
dc.date.accessioned2020-07-24T08:41:48Z-
dc.date.available2020-07-24T08:41:48Z-
dc.date.issued2015-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69089-
dc.description.abstractThis independent study aimed to investigate service marketing mix affecting customers in using service at the Health Check-Up Department, Chiangmai Ram Hospital. Data were specifically collected from 400 Thai customers and data analysis was conducted by the descriptive statistics, including frequency, percentage, and mean. The findings presented that most respondents were female in the age of 31-40 years old and married. Their education background was bachelor’s degree. They worked as employee of private company, earned income at the amount of 15,001-25,000 Baht and resided in Mueang district, Chiang Mai province. They had used services, especially the annual health check-up program, at the Health Check-Up Department for less than a year. The respondents satisfied with doctors, nurses, and staff of the Chiangmai Ram hospital and intended to continue using services at the studied hospital. The marketing mix factors affecting the respondents in using services at the Health Check-Up Department, Chiangmai Ram hospital were ranked in descending order according to mean values as follows: physical evidence and presentation, people, process, service, place and promotion: of which the mean values were equally rated, and price. The sub-factors affecting the respondents in using services at the studied hospital at the highest level were ranked in descending order according to mean values as follows: to have modern and sufficient number of medical devices and equipment, the hygiene of medical devices and equipment, the clear information of health check-up service costs, the clean and large area of the building, to have knowledgeable and skillful doctors to provide medical treatment services as well as to offer clear explanation on service process to the customers (of which the mean values were equally rated), the completion of health check-up services and the quality certification that the hospital had been accredited (of which the mean values were equally rated), the sufficient number of waiting area, and the fame and image of the hospital.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อผู้รับบริการในการใช้บริการ ของแผนกตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลเชียงใหม่ รามen_US
dc.title.alternativeServices Marketing Mix Affecting Clients Towards Using Services at Health Check-up Department, Chiangmai Ram Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อการใช้บริการของผู้รับบริการแผนกตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลเชียงใหม่ รามโดยเก็บข้อมูลจากผู้ใช้บริการตรวจสุขภาพของโรงพยาบาลเชียงใหม่ ราม เฉพาะที่เป็นคนไทย จำนวน 400 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงอายุ 31-40 ปี สถานภาพสมรส การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน รายได้ 15,001 – 25,000 บาท อาศัยอยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เคยมาใช้บริการแผนกตรวจสุขภาพมาแล้ว น้อยกว่า 1 ปี โดยใช้บริการประเภทตรวจสุขภาพประจำปี โดยผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านแพทย์ พยาบาล และพนักงานที่ให้บริการในโรงพยาบาล อีกทั้งมีความตั้งใจที่จะใช้บริการโรงพยาบาลเชียงใหม่รามต่อไป ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้ตอบแบบสอบถามในการใช้บริการแผนกตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลเชียงใหม่ ราม สามารถเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ รองลงมาคือ ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการ ด้านบริการ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน และด้านราคา ตามลำดับ โดยปัจจัยย่อยในส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลในระดับมากที่สุด โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ มีเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัย และเพียงพอ รองลงมาคือ มีเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์สะอาด มีการแสดงค่าใช้จ่ายในการตรวจสุขภาพไว้ชัดเจน อาคารและสถานที่สะอาด กว้างขวาง มีแพทย์ที่มีความรู้ ความชำนาญ ในการตรวจรักษา และมีการชี้แจงขั้นตอนการรับบริการแก่ผู้มารับบริการอย่างชัดเจน (ค่าเฉลี่ยเท่ากัน) การมีบริการตรวจสุขภาพแบบครบครันและมีการรับรองคุณภาพของโรงพยาบาล (ค่าเฉลี่ยเท่ากัน) มีสถานที่นั่งพักระหว่างรอรับบริการอย่างเพียงพอ และชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของโรงพยาบาล ตามลำดับen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.