Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69066
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์อรพิณ สันติธีรากุล | - |
dc.contributor.author | อังคณา ขันทะจิต | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-24T01:21:08Z | - |
dc.date.available | 2020-07-24T01:21:08Z | - |
dc.date.issued | 2014-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69066 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this independent study were to study the overall quality of working life and the factors affecting working life quality of the employees at CPRAM Company Limited, Chiang Mai Branch. The concept of working life quality was based on Management System of Quality of Work Life (MS-QWL) presented by the Human Capacity Building Institute, Industrial Council of Thailand. The data was collected by using questionnaire distributed to 169 employees of CPRAM Company Limited, Chiang Mai Branch. The data was analyzed using frequency, percentage, mean, correlation analysis, and multiple regression analysis. The results of the study showed that most employees at CPRAM Company Limited, Chiang Mai Branch, were female (62.10%), 20 – 30 years old (59.80%), single (66.90%), holding high school/vocational certificate or equivalent (32.50%), holding the position of daily-paid staff (76.90%) and worked in production/support production (84.60%). 49.70% earned 10,001 –20,000 baht per month and 48.50% had been working for less than 1 year. The working life quality of most questionnaire respondents was at the high level or at 3.42 points out of the total of 5. It was also found that body and career stability correlated significantly to working life quality (R = 0.656) at the statistics value of 0.05. In addition, career stability and body were able to predict working life quality at β = 0.270 and 0.220 The employees agreed at the high level with the 4 following factors which affected working life quality: mind, social relationship, environment, and spirituality, respectively, while they agreed at the medium level with body and career stability. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | คุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงาน บริษัท ซีพีแรม จำกัด สาขาเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Quality of Work Life of Employees at CPRAM Company Limited, Chiang Mai Branch | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานบริษัท ซีพีแรม จำกัด (สาขาเชียงใหม่) และศึกษาระดับคุณภาพชีวิต ในการทำงานของพนักงานบริษัท ซีพีแรม จำกัด (สาขาเชียงใหม่) โดยใช้แนวคิดคุณภาพชีวิต การทำงาน(Quality of Work Life) ตามมาตรฐานระบบการบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการทำงาน (Management System of Quality of Work Life : MS-QWL) ของสถาบันเสริมสร้างขีดความ สามารถมนุษย์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามพนักงานบริษัท ซีพีแรม จำกัด (สาขาเชียงใหม่) จำนวน 169 ราย ข้อมูลที่ได้จะนำมาวิเคราะห์ โดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) ร้อยละ(Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) การทดสอบโดยวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า พนักงานบริษัท ซีพีแรม จำกัด (สาขาเชียงใหม่) ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง ร้อยละ 62.10 มีอายุระหว่าง 20-30 ปี ร้อยละ 59.80 มีสถานภาพโสด ร้อยละ 66.90 การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. หรือเทียบเท่า ร้อยละ 32.50 ทำงานอยู่ในตำแหน่งพนักงานรายวัน ร้อยละ 76.90 ปฏิบัติงานฝ่ายผลิต / สนับสนุนการผลิต ร้อยละ 84.60 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 –20,000 บาท ร้อยละ 49.70 และมีอายุการทำงานต่ำกว่า 1 ปี ร้อยละ 48.50 โดยมีคุณภาพชีวิตการทำงานในภาพรวมในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.42 และพบว่าด้านความมั่นคงในชีวิต และด้านร่างกาย ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 และยังพบว่าปัจจัยด้านความมั่นคงในชีวิตและร่างกาย สามารถทำนายคุณภาพชีวิตการทำงานในภาพรวมได้ (R = 0.656) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความถดถอยในแบบคะแนนมาตรฐาน (β) เท่ากับ0.270 และ 0.220 ตามลำดับ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยมาก ต่อปัจจัยที่ส่งผล ต่อคุณภาพชีวิตในการทำงานคือ ด้านด้านจิตใจ รองลงมาคือ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านจิตวิญญาณ และมีความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยปานกลางต่อด้านร่างกาย ด้านความมั่นคงในชีวิต | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 5.89 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.