Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69061
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.เขมกร ไชยประสิทธิ์-
dc.contributor.authorกัญญณัฐกาญจน์ อินทรักษ์en_US
dc.date.accessioned2020-07-24T01:20:42Z-
dc.date.available2020-07-24T01:20:42Z-
dc.date.issued2015-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69061-
dc.description.abstractThe objective of this independent study was to Analyze and evaluate the use of Management Information System Analysis for Faculty of Nursing, Chiang Mai University. To study and evaluation is bordered to the solution of the system. Improve or develop even further in the future. In the analysis of management information systems for nursing it. The study was conducted by the query. Data were collected by interviews with personnel in each subsystem by dividing into the management structure of the 5 lines by dividing the analysis into sections. Include the information in the system. The problems and needs of the user. The data was analyzed to create a query tool for use in evaluating the next. By evaluatingtheuse ofmanagement informationscience.The respondents intwo groups : groupone, are officials whouse the system. Evaluate the use of information systems for management science by a questionnaire consisting of five areas, namely (1) the general administration of over 15 people. (2) Finance and Accounting for 8 people, (3) Policy and Planning and Quality Assurance of 13 people (4) Educational Services and Student Development, 19 peaple, and (5) Research Management Outreach and. Affairs of 5 people Each area will be evaluated using the 3 different systems each line. Group2 are Executive Board of Nursing. Evaluate the use of management information science through questionnaires and interviews with 14 people. The result of the study, the 13 systems canconclude that this system are the first system for personnel database users are satisfied with the overall high level and the level of difficulty in the use of the medium.The second system for database projects and activities users are satisfied with the overall high level and the level of problems in the system level. The third system for electronic mail system (E-Office) users were satisfied with the overall high level and the level of difficulty in the use of the system at least. System fourthsystemfor E-Sarabunusers were satisfied with the overall level and the level of difficulty in the use of moderate. The five system for management course users are satisfied with its use. the overall high level and the level of problems in the system level. The sixth system for database course users are satisfied with the overall highest level and have a problem in the use of low level. The seventh system for database Student users are satisfied. to usethe overall high level and the level of problems in the system level. The eighth system for database project and budget research users are satisfied with the overall evel and classissues in the use of low level. The ninth system for database published research users. Is satisfied with the overall high level and the level of difficulty in the use oflow level. The tenth system for international users were satisfied with the overall eveland the level of difficulty. the use of low level. The eleventh system administrative budget users were satisfied with the overall evel and the level of difficulty in the use of moderate. The twelveth system for database systems and equipment users are satisfied to the overall evel and the level of difficulty in the use of the medium. And quality assurance system that is the thirteenth system for users were satisfied with the overall high level and the level of difficulty in the use of a few of the studies that have. Show that the Management Information System Analysis for Faculty of Nursing, Chiang Mai University achieving the objectives of the study determined.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeManagement Information System Analysis for Faculty of Nursing, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์และประเมินการใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารคณะพยาบาลศาสตร์ระบบสารสนเทศเพื่อนำผลการศึกษาและผลการประเมินที่ได้ไปใช้เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาของระบบ ปรับปรุงหรือพัฒนาระบบให้ดียิ่งขึ้นในอนาคต ในการศึกษาและวิเคราะห์ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารคณะพยาบาลศาสตร์นั้นผู้ศึกษาได้ทำการศึกษาจากการสอบถาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์บุคลากรที่ใช้งานในแต่ละระบบย่อยโดยแบ่งตามสายงานตามโครงสร้างการบริหาร 5 สายงาน โดยแบ่งประเด็นของการวิเคราะห์ออกเป็นส่วนๆได้แก่ ตัวระบบ ข้อมูลในแต่ละระบบ สภาพปัญหาและความต้องการของผู้ใช้งาน และนำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ไปใช้สร้างเครื่องมือแบบสอบถามเพื่อใช้ในการประเมินการใช้งานต่อไป จากการประเมินการใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารคณะพยาบาลศาสตร์ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มได้แก่ กลุ่มตัวอย่างที่ 1 กลุ่มเจ้าหน้าที่ที่ใช้งานระบบ ประเมินการใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารคณะพยาบาลศาสตร์โดยแบบสอบถาม ประกอบด้วย 5 สายงานได้แก่ (1) งานบริหารทั่วไป จำนวน 15 คน (2)งานการเงิน การคลังและพัสดุ จำนวน 8 คน (3) งานนโยบายและแผนและการประกันคุณภาพการศึกษา จำนวน13 คน (4) งานบริการการศึกษาและพัฒนาคุณภาพนักศึกษา จำนวน 19 คน และ (5) บริหารงานวิจัยบริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ จำนวน 5 คน โดยแต่ละสายงานจะต้องประเมินการใช้งานระบบที่เกี่ยวข้องจำนวน 3 ระบบ แตกต่างกันแต่ละสายงาน กลุ่มตัวอย่างที่ 2 กลุ่มผู้บริหารคณะพยาบาลศาสตร์ ประเมินการใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารคณะพยาบาลศาสตร์โดยแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ จำนวน 14 คนโดยผลจากการศึกษาทั้ง 13 ระบบสามารถสรุปผลการศึกษาได้ตามนี้ ระบบที่ 1 ระบบฐานข้อมูลบุคลากรผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับมากและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับปานกลางระบบที่ 2 ระบบฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับมากและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับน้อยระบบที่ 3 ระบบจดหมายอิเลคทรอนิกส์ (E-Office)ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับมากและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับน้อยระบบที่ 4 ระบบสารบรรณอิเลคทรอนิกส์ (E-Sarabun) ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับปานกลางและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับปานกลางระบบที่ 5 ระบบจัดการด้านหลักสูตรผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับมากและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับน้อยระบบที่ 6 ระบบฐานข้อมูลกระบวนวิชาผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับมากที่สุดและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับน้อยระบบที่ 7 ระบบฐานข้อมูลนักศึกษาผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับมากและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับน้อยระบบที่ 8 ระบบฐานข้อมูลโครงการวิจัยและงบประมาณวิจัยผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับปานกลางและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับน้อยระบบที่ 9 ระบบฐานข้อมูลเผยแพร่งานวิจัยผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับมากและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับน้อยระบบที่ 10 ระบบวิเทศสัมพันธ์ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับปานกลางและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับน้อยระบบที่ 11 ระบบบริหารจัดการงบประมาณผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับปานกลางและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับปานกลางระบบที่ 12 ระบบฐานข้อมูลครุภัณฑ์ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับปานกลางและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับปานกลาง และระบบที่ 13 ระบบประกันคุณภาพผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานในภาพรวมระดับมากและมีระดับปัญหาในการใช้งานระบบระดับน้อยจากผลการศึกษาที่ได้ แสดงว่าการศึกษาวิเคราะห์และประเมินการใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาที่กำหนดen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.78 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.