Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69054
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. รุ้งลาวัลย์ สมสุนันท์-
dc.contributor.authorศิริธิดา หม่องพะสั่นen_US
dc.date.accessioned2020-07-23T06:10:14Z-
dc.date.available2020-07-23T06:10:14Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69054-
dc.description.abstractThis research focuses on the revealing latent prints on wet papers by using Oil Red O and small particle reagent techniques. The objectives are to study the effect of immersing time and the effect of pH on the durability of latent prints. The fingerprints were deposited on the papers by researcher and then were placed in distilled water and the solutions with different pH (4, 7 and 10) for 7 days. At the different time intervals, the wet papers were taken out and examined the latent prints by using Oil Red O and small particle reagent techniques. The minutiae of latent prints on wet papers were investigated and reported as the average number of the minutiae of latent prints per fingerprint. The results showed that Oil Red O technique can be used to reveal the latent prints on wet papers in which are the fingerprints can be observed. In addition, the small particle reagent technique can be also used to reveal latent prints on wet papers but the fingerprints cannot be clearly observed. Moreover, it can be concluded that the pH of water do not affect the investigation of the latent prints on wet paper in the studying period.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษเปียกโดย เทคนิคออยล์เรดโอและเทคนิคการใช้สารอนุภาคขนาดเล็กen_US
dc.title.alternativeDetection of Latent Fingerprints on Wet Papers by Oil Red O and Small Particle Reagent Techniquesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ศึกษาการตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษเปียก โดยเทคนิคออยล์เรดโอและเทคนิคการใช้สารอนุภาคขนาดเล็ก โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของช่วงระยะเวลาในการเปียกน้ำต่อความคงทนของรอยลายนิ้วมือแฝง และเพื่อศึกษาความแตกต่างของค่า pH ของน้ำต่อความคงทนของรอยลายนิ้วมือแฝง โดยผู้วิจัยพิมพ์ลายนิ้วมือลงบนกระดาษตัวอย่างที่เตรียมไว้ จากนั้นนำตัวอย่างที่มีรอยลายนิ้วมือแฝงอยู่ไปแช่ในน้ำกลั่นและสารละลายที่มีค่า pH ต่างๆ (4 7 และ 10) เป็นระยะเวลา 7 วัน จากนั้นนำตัวอย่างที่เตรียมได้มาทำการตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงที่ระยะเวลาต่างๆ ด้วยเทคนิคออยล์เรดโอและเทคนิคการใช้สารอนุภาคขนาดเล็ก เมื่อปรากฏรอยลายนิ้วมือแฝง จึงทำการเก็บลอกถอดรอย และทำการนับและชี้จุดตำหนิพิเศษ ผลการวิจัยพบว่า เทคนิคออยล์เรดโอสามารถตรวจเก็บรอยลายแฝงบนกระดาษเปียกได้ และยังสามารถนับและชี้จุดตำหนิพิเศษได้ ส่วนเทคนิคการใช้สารอนุภาคขนาดเล็กสามารถตรวจเก็บรอยลายแฝงบนกระดาษเปียกได้ แต่ไม่สามารถนับและชี้จุดตำหนิพิเศษได้อย่างชัดเจน นอกจากนี้ พบว่าความแตกต่างของค่า pH ไม่มีผลต่อรอยลายแฝงที่ทำการตรวจหาด้วยเทคนิคออยล์เรดโอและเทคนิคการใช้สารอนุภาคขนาดเล็ก ในช่วงระยะเวลาที่ทำการศึกษาen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf6.08 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.