Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69048
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorระวีชัย วงศ์รัตนมัจฉาen_US
dc.date.accessioned2020-07-23T06:09:28Z-
dc.date.available2020-07-23T06:09:28Z-
dc.date.issued2015-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69048-
dc.description.abstractThis independent study on the knowledge management in Border Patrol Police Sub Division 333, San Sai district, Chiang Mai Province, aimed at studying following; (1) the knowledge management of the personnel in Border Patrol Police 333, (2) the problems and obstacles in knowledge management of the personnel in Border Patrol Police 333, (3) the possibility of knowledge management in the Border Patrol Police 333. This independent study used quantitative research in combination with qualitative research methods which used questionnaire and semi-structured interviews. Samples used in the study were the administrator and personnel from the Mortra 93 Division, Armored Car Division 1, and War dogs Division in Border Patrol Police 333. In this study there were 57 samples . The study result shows that the knowledge management of the personnel in the Border Patrol Police 333 was relatively low in areas related to providing of knowledge, knowledge-sharing and dissemination of knowledge. In the past, the Border Patrol Police only conducted training by sending personnel to train according to the action plan of the unit Problems and obstacles in knowledge management can be divided into three areas. In the leadership and personnel areas; the problems are supervisors or unit leaders do not give priority of knowledge management or recognize the value of it. Lack of understanding about knowledge management. Low commitment in order to promote the support of the workers to understand about knowledge management. In area of the personnel, the comprehension of the knowledge management process is inadequate. Too excessive workload causes the lack of continuity in practice. Lack of skill training continuously. In the organization area, the problems are insufficient budget for processing the knowledge management and the organization also have problem about technology to process knowledge management; such as technology for storing information or computer system is not adequate in order to process knowledge management. The possibility of managing staff knowledge according to their positing in Border Patrol Police sub division 333 is quite limited in many aspect. There are problems on sharing knowledge of staff in each department due to convey initiative, the mind of sharing knowledge for public’s benefit, collecting and classifying information. Furthermore there is no synthesis or record the knowledge that has been learned in order to share, or distribute to other staff in the organization and moreover the information technology data is minimal.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการความรู้ในหน่วยงานกองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 333 อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeKnowledge Management in Border Patrol Police Sub Division 333 San Sai District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง การจัดการความรู้ในหน่วยงานกองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 333 อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษา การจัดการความรู้ของบุคลากร กองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 333 2) เพื่อศึกษาปัญหา และอุปสรรค ในการจัดการความรู้ของบุคลากร กองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 333 3) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ ของการจัดการความรู้ขึ้นในหน่วยงานกองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 333 การค้นคว้าแบบอิสระในครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research) ผสมกับการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) และ แบบสัมภาษณ์ แบบกึ่งมีโครงสร้าง (Semi-structured Interview) เป็นเครื่องมือ เก็บข้อมูลจาก กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหาร และบุคลากร ในหมวดเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด 93 หมวดรถยนต์หุ้มเกราะที่ 1 หมวดสุนัขสงคราม กองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 333 จำนวน 57 คน ผลการศึกษาพบว่า การจัดการความรู้ของบุคลากรกองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 333 มีการดำเนินการในระดับค่อนข้างน้อย ทั้งในด้านการจัดหาความรู้ ด้านการแบ่งปันความรู้ และด้านการใช้และเผยแพร่ความรู้ ที่ผ่านมามีเพียงการส่งบุคลากรเข้ารับการฝึกอบรมตามแผนปฏิบัติการของหน่วยเท่านั้น ปัญหา อุปสรรค ในการจัดการความรู้ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ด้าน คือ ด้านผู้นำและบุคลากร พบว่า ผู้บังคับบัญชา/ผู้นำหน่วย ไม่ได้ให้ความสำคัญ หรือตระหนักต่อคุณค่าของการจัดการความรู้ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การจัดการความรู้ไม่เพียงพอ ขาดความมุ่งมั่น จริงจัง ในการที่จะผลักดัน หรือสนับสนุนให้บุคลากรผู้ปฏิบัติเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการความรู้ ด้านบุคลากรผู้ปฏิบัติ พบว่าไม่มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการจัดการความรู้อย่างเพียงพอ ภาระงานที่ได้รับมอบหมายมีมากเกินไป ทำให้บุคลากร ขาดความต่อเนื่องในการปฏิบัติ และขาดการฝึกทักษะฝีมืออย่างต่อเนื่อง ด้านองค์การ พบว่า ไม่สามารถให้การสนับสนุนงบประมาณสำหรับการดำเนินการในเรื่องของการจัดการความรู้ในหน่วยงาน และ องค์การยังมีปัญหา ด้าน เทคโนโลยีการจัดการความรู้ เช่น เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บสารสนเทศ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ไม่เพียงพอ ที่จะก่อให้เกิดการจัดการความรู้ ความเป็นไปได้ ในการจัดการความรู้ของบุคลากรตามความชำนาญเฉพาะตำแหน่ง/ตามสายงาน ของกองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 333 นั้นมีค่อนข้างน้อยในทุกด้าน เช่น การแบ่งปันความรู้ของบุคลากรในแต่ละสายงาน เนื่องจาก การถ่ายทอดความคิดริเริ่ม ความเสียสละในการแบ่งปันความรู้เพื่อประโยชน์ของคนส่วนรวม การนำองค์ความรู้มาจัดเก็บเป็นหมวดหมู่ความรู้ รวมทั้งไม่มีการสังเคราะห์ หรือจดบันทึกความรู้ที่เรียนมา เพื่อถ่ายทอดหรือเผยแพร่ให้กับคนในองค์การ และการจัดเก็บข้อมูลไว้ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีน้อย เป็นต้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.33 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.