Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69031
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัท วินิจ-
dc.contributor.authorพร้อมสิน ศีลอุดมen_US
dc.date.accessioned2020-07-22T08:47:07Z-
dc.date.available2020-07-22T08:47:07Z-
dc.date.issued2015-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69031-
dc.description.abstractThe objective of this research was to study marketing mix affecting decision makers of offices of Chiang Mai University towards purchasing snack for meetings. The data was collected using questionnaire distributed to 300 decision makers of offices of Chiang Mai University. The data was analyzed using descriptive statistics, namely frequency, percentage, mean, and F-test, to analyse the differences between marketing mix and average cost of snack and style of snack for meetings, at the reliability level of 95% (or at the statistical significance level of 0.05). The results of the research study showed that most questionnaire respondents (70.30 %) were female, 65.70% were 18-35 years old, 19.70% worked on general management, 28.30% worked in the fields of science and technology, 47.70% were university employees, 89.70% were operational employees, 32.00% (less than 40%) only occasionally made purchasing decision, 48.70% purchased for meetings in their departments 1 – 2 times per month, 42.30% of snack cost of was 20 – 29 Baht, 63.00% of the respondents favored western snacks, 41.70% favored hot coffee, 60.00% favored box-styled snack for meetings, 72.30% had been recommended by friends, and 87.70% focused on flavour. The questionnaire respondents ranked the overall marketing mix at the high level. All factors were ranked at the high level in the following order: place, price, product and promotion. The study of the sub-factors in each category showed that for product, the highest ranked sub-factor was the quality of the snack. For price, it was appropriateness of the price compared to the quality. For place, it was easy to contact. For marketing promotion, it was discount.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectส่วนประสมการตลาดen_US
dc.subjectอาหารว่างen_US
dc.titleส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้ตัดสินใจของหน่วยงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในการซื้ออาหารว่างสำหรับการประชุมen_US
dc.title.alternativeMarketing mix affecting decision makers of offices of Chiang Mai University towards purchasing snack for meetingsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.8342-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashอาหาร -- การจัดซื้อ-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.8342 พ179ส-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้ตัดสินใจของหน่วยงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในการซื้ออาหารว่างสำหรับการประชุม โดยสร้างแบบสอบถาม (Questionnaire) และเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจากประชากรที่มีอำนาจในการตัดสินใจในการซื้ออาหารว่างระหว่างประชุมในหน่วยงานของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 300 คน จากนั้นนำข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถาม มาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบด้วย ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) และวิเคราะห์โดยใช้สถิติอ้างอิง ในรูปแบบของค่า F-test เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างส่วนประสมทางการตลาด กับปัจจัยส่วนบุคคลด้านค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อชุดในการซื้ออาหารว่างสำหรับการประชุม และรูปแบบของการจัดอาหารว่างสำหรับการประชุมที่กลุ่มผู้ประชุมชื่นชอบ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (หรือที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05) ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 70.30 มีช่วงอายุ 18 – 35 ปี คิดเป็นร้อยละ 65.70 ทำงานในส่วนงานงานบริหารทั่วไป คิดเป็นร้อยละ 19.70 สังกัดกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คิดเป็นร้อยละ 28.30 มีสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยประจำ คิดเป็นร้อยละ 47.70 มีลักษณะเป็นสายงานปฏิบัติการ คิดเป็นร้อยละ 89.70 มีโอกาสในการเลือกซื้ออาหารว่างสำหรับการประชุมนานๆครั้ง (ต่ำกว่า 40%) คิดเป็นร้อยละ 32.00 ในหน่วยงานมีจำนวนการประชุม 1 – 2 ครั้งต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ 48.70 มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อชุดในการซื้ออาหารว่างสำหรับการประชุม 20 – 29 บาทต่อชุด คิดเป็นร้อยละ 42.30 ในกลุ่มผู้ประชุมที่ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่รับผิดชอบชื่นชอบอาหารว่างประเภทอาหารว่างฝรั่ง คิดเป็นร้อยละ 63.00 ชื่นชอบเครื่องดื่มประเภทกาแฟร้อน คิดเป็นร้อยละ 41.70 ชื่นชอบรูปแบบจัดเป็นกล่อง คิดเป็นร้อยละ 60.00มีการรับรู้ข้อมูลในการซื้อมาจากบุคคลในที่ร่วมงานแนะนำ คิดเป็นร้อยละ 72.30 และให้ความสำคัญกับรสชาติ คิดเป็นร้อยละ 87.70 ผู้ตอบแบบสอบถามให้ระดับการมีผล ของส่วนประสมการตลาดในภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านราคา ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ เมื่อพิจารณาปัจจัยย่อยของส่วนประสมการตลาดในแต่ละด้านพบว่า ปัจจัยทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ปัจจัยคุณภาพของอาหารว่าง ปัจจัยทางการตลาดด้านราคาที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ความเหมาะสมของราคาเมื่อเทียบกับคุณภาพ ปัจจัยทางการตลาดด้านช่องทางการจัดจำหน่ายที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ความสะดวกในการติดต่อ ปัจจัยทางการตลาดด้านการส่งเสริมการตลาดที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ มีการให้ส่วนลดราคาเมื่อซื้อสินค้าen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.