Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69020
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรพิณ สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorศศิวิมล เอกมหาชัยen_US
dc.date.accessioned2020-07-22T04:30:24Z-
dc.date.available2020-07-22T04:30:24Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69020-
dc.description.abstractThe objectives of the independent study “Quality of Work Life of Interns, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital” were to investigate factors which affected interns’ quality of work life, and to discover the level of their work life quality, based on work life concept, which consists of 6 factors: body, mind, social relations, environment, spirituality, and career stability. In this study, the data was collected by questionnaire distributed to 184 interns at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. The collected data was analyzed by descriptive statistics, namely frequency, percentage, mean, T-test and One-way ANOVA, LSD, including correlation analysis and multiple regression analysis. The results showed that the interns at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital ranked the overall quality of work life at the medium level, and the 6 factors of quality of work life were ranked at the medium level. The interns ranked factors that affected their work life quality at the high level, in the following order: social relations, mind, spirituality, environment, career stability, and body. The correlation analysis showed that body, mind, social relations, environment, spirituality, and career stability linked with of quality of work life, and all of them were in the same direction. Multiple regression analysis showed the positive variation (R = 0.603), with body, environment, and spirituality significantly affecting the overall quality of work life.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตen_US
dc.subjectการทำงานen_US
dc.subjectแพทย์ใช้ทุนen_US
dc.subjectโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของแพทย์ใช้ทุน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeQuality of work life of interns, Maharaj Nakorn Chiang Mai hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc306.361-
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ -- บุคลากรทางการแพทย์-
thailis.controlvocab.thashบุคลากรทางการแพทย์ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashคุณภาพชีวิตการทำงาน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 306.361 ศ183ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง คุณภาพชีวิตการทำงานของแพทย์ใช้ทุน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของแพทย์ใช้ทุน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของแพทย์ใช้ทุน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โดยใช้แนวคิดคุณภาพชีวิตการทำงาน (Quality of Work Life) ซึ่งประกอบด้วยคุณภาพชีวิตการทำงาน 6 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านจิตวิญญาณ และด้านความมั่นคงในชีวิต การศึกษาในครั้งนี้รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มประชากรซึ่งเป็นแพทย์ใช้ทุน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ จำนวน 184 ราย นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้สถิติ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย และสถิติอ้างอิง ประกอบด้วย การทดสอบค่าแจกแจงแบบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD และการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาโดยรวมพบว่า แพทย์ใช้ทุน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่มีคุณภาพชีวิตการทำงานในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีความคิดเห็นในปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยได้ดังนี้คือ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ด้านจิตใจ ด้านจิตวิญญาณ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคงในชีวิตและด้านร่างกาย เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานทั้ง 6 ด้านกับคุณภาพชีวิตการทำงานในภาพรวม พบว่า ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านจิตวิญญาณ และด้านความมั่นคงในชีวิต มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งเมื่อวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานทั้ง 6 ด้านกับคุณภาพชีวิตการทำงานในภาพรวม พบว่า มีการแปรผันตามกันในเชิงบวก (R = 0.603) โดยปัจจัยด้านร่างกาย ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านจิตวิญญาณ ส่งผลต่อระดับคุณภาพชีวิตการทำงานในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.