Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68979
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ก้องภู นิมานันท์-
dc.contributor.authorชญานิษฐ์ จักรอิศราพงศ์en_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:47:36Z-
dc.date.available2020-07-21T05:47:36Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68979-
dc.description.abstractThis independent study aimed to functional drink consumption behavior of working-aged people in Mueang Chiang mai district. The study involved collecting data from a sample of 400 respondents by using questionnaires. The data was analyzed by using descriptive statistics including frequencies, percentages and averages and inferential statistics including a t-test and an analysis of variance. The result of the study showed that most of working-age in Mueang Chiang Mai district were women aged between 25 and 34 years old with the highest education level of bachelor degree, and average income between 10,001 and 20,000 baht per month. Regarding, the functional drink consumption of working-aged people in mueang Chiang mai district, the respondents purchased functional drink once a week or least once a week that chose from skin care and beauty property. The packaging were plastic bottle. The expenses was 21-50 baht per person per time and purchased separately with 1 piece per time. The respondents made purchasing decisions by themselves. Sappe Beauti Drink was the most functional drink brand that respondents purchased. The cause of purchasing was nutrition or benefit of functional drink. The respondents purchased the functional drink from convenience stores such as 7-Eleven and 108 shop because the journey was convenience. The information was received from radio and television. The Purchasing was several brands rotation and purchased for their own drinking. And the incentives for purchasing was the properties of product.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มฟังก์ชันนอลดริ้งของ คนวัยทำงานในอำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFunctional Drink Consumption Behavior of Working-Aged People in Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มเสริมสุขภาพบรรจุขวดของคนวัยทำงานในอำเภอเมืองเชียงใหม่ โดยใช้แบบสอบถาม เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ราย ทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย และใช้สถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย การทดสอบความแตกต่างที่เกี่ยวข้องกับค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า คนวัยทำงานในอำเภอเมืองเชียงใหม่ที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 25 – 34 ปี การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี รายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 10,001-20,000 บาท ผลการศึกษาข้อมูลด้านพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มเสริมสุขภาพบรรจุขวดของคนวัยทำงานในอำเภอเมืองเชียงใหม่พบว่า ความถี่ในการซื้อเครื่องดื่มเสริมสุขภาพบรรจุขวดสัปดาห์ละครั้งหรือน้อยกว่า โดยเลือกซื้อตามคุณสมบัติในการช่วยบำรุงผิวพรรณและความงามมากที่สุด นิยมซื้อในรูปแบบบรรจุภัณฑ์ขวดพลาสติก ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้งในการซื้ออยู่ระหว่าง 21- 50 บาท มีรูปแบบการซื้อเครื่องดื่มเสริมสุขภาพบรรจุขวดแบบแยกชิ้นมากที่สุด โดยมีจำนวนเฉลี่ยในการซื้อต่อครั้งที่ 1 ชิ้น ตัดสินใจซื้อด้วยตนเอง ตรายี่ห้อที่นิยมซื้อมากที่สุดคือเซ็ปเป้ บิวตี้ดริ้งค์ เหตุผลหลักในการเลือกตรายี่ห้อจากการมีคุณประโยชน์ที่ได้รับต่อร่างกาย นิยมซื้อจากร้านสะดวกซื้อ เช่น 7-Eleven 108Shop เนื่องจากเดินทางสะดวก โดยได้รับข้อมูลจากวิทยุ/โทรทัศน์มากที่สุด มีลักษณะการซื้อหมุนเวียนกันหลายยี่ห้อ โดยซื้อเพื่อดื่มเอง และมีแรงจูงใจในการซื้อเนื่องจากคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องดื่มเสริมสุขภาพบรรจุขวดพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญต่อทุกปัจจัยในระดับมาก เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านการจัดจำหน่าย และปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ โดยด้านปัจจัยย่อยเมื่อเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อเครื่องดื่มเสริมสุขภาพบรรจุขวด 5 อันดับแรก ได้แก่ หาซื้อง่ายและสะดวก เป็นปัจจัยด้านการจัดจำหน่าย ราคาเหมาะสมกับคุณภาพ เป็นปัจจัยด้านราคา รสชาติของเครื่องดื่ม (ความอร่อย) เป็นปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ได้รับมาตรฐานคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เป็นปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ และมีคุณค่าทางโภชนาการ/ประโยชน์ที่ได้รับ เป็นปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.47 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.