Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68947
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดร.ไพรัช พิบูลย์รุ่งโรจน์-
dc.contributor.advisorรศ.ดร.เริงชัย ตันสุชาติ-
dc.contributor.authorพิมพิกา ชวลิตen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:41:42Z-
dc.date.available2020-07-21T05:41:42Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68947-
dc.description.abstractThis study aims to examine factors affecting support for the Pak Bara deep-sea port project, in La-ngu district of Satun province, Thailand. The results provide insights to understand the perception of local residents on the project. A research model was developed under a concept of impacts of port operation and sustainable development. The model was developed to explain the endogenous latent variable (support for the Pak Bara port) and the exogenous latent variables (economics, environment, social and culture, logistics and technology, and trust). Primary data were collected from a self-administrative questionnaires from 310 residents in Satun province. The model was empirically tested using the Structural Equation Model (SEM). The model is statistically fitted to the data (goodness of fit index > 95 %). The results indicate that perceived impacts on environment, logistics, and trust significantly affect the resident supports (p < 0.05). A multiple group analysis shows that people in La-ngo district concern about social, logistics impact, and institutional trust, while the others are more interested in economics and environment impacts. According to the results, the authority should develop trust with the local residents as well as provide sufficient information on the impacts of the port to the locals in order to get their supports. The study also found that the perceived impacts on mega project related to infrastructure of locals and out siders can be different.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการสนับสนุนท่าเรือน้ำลึกปากบาราen_US
dc.title.alternativeFactors Affecting Support for the Pak Bara Deep-sea Porten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสนับสนุนท่าเรือน้ำลึกปากบารา อำเภอละงู จังหวัดสตูล เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับการรับรู้ของประชาชนในพื้นที่ต่อโครงการดังกล่าว แบบจำลองของการศึกษาประยุกต์มาจากกรอบผลกระทบจากการดำเนินงานของท่าเรือและการพัฒนาอย่างยั่งยืน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สมการเชิงโครงสร้าง (Structural Equation Model: SEM) ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรแฝงภายนอกจำนวน 5 ปัจจัย ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมและวัฒนธรรม ด้านโลจิสติกส์และเทคโนโลยี และด้านความเชื่อมั่นต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับตัวแปรแฝงภายใน คือ การสนับสนุนท่าเรือน้ำลึกปากบารา ข้อมูลได้จากการสำรวจโดยใช้แบบสอบถามแบบตอบด้วยตนเอง กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาได้แก่ประชาชนที่มีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดสตูล จำนวน 310 คน ผลการศึกษาพบว่าแบบจำลองมีความสอดคล้องทางสถิติกับข้อมูลมากกว่าร้อยละ 95 (CFI/TLI) โดยตัวแปรที่มีอิทธิพล ณ ระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ต่อการสนับสนุนท่าเรือน้ำลึกปากบารา ได้แก่ (1) ความเชื่อมั่นในภาครัฐ (2) ผลกระทบด้านโลจิสติกส์ และ (3) ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เมื่อจำแนกการวิเคราะห์ตามกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่ในอำเภอละงู และอำเภออื่น ๆ พบว่า ประชาชนในอำเภอละงูให้ความสำคัญต่อ (1) ผลกระทบด้านโลจิสติกส์ (2) ความเชื่อมั่นในภาครัฐ และ (3) ผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรม ตามลำดับ ในขณะที่ประชาชนในอำเภออื่น ๆ ให้ความสำคัญต่อผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมต่อการสนับสนุนท่าเรือน้ำลึกปากบาราเป็นหลัก ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรสร้างความเชื่อมั่นกับประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงการให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับผลกระทบด้านต่าง ๆ จากโครงการอย่างถูกต้องen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.3 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.