Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68935
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. ศุภชัย ศุภผล-
dc.contributor.authorอภิรักษ์ แสงทองen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:40:03Z-
dc.date.available2020-07-21T05:40:03Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68935-
dc.description.abstractThe objectives of this research, “A Comparative Study of Characteristics of The Political Leaders in “The Prince” and “Wieng Kum Kam” Novels.” are to compare and study the characteristics of the political leaders in “The Prince” and “Wieng Kum Kam” novels. This research is a qualitative research. The method uses in this research are hermeneutic methodology. The research focuses on how to pursuit and maintain the political power and state, the technique of government as well as the virtue of the political leader. The results of this research show that the Characteristics of The Political Leaders in “The Prince” and “Wieng Kum Kam” novels are different in some points. The main concepts of the characteristic of political leaders in “The Prince” are the virtue as well as the discretion of the political leaders. In the other hand, the main concepts of the characteristic of political leaders in “Wieng Kum Kam” novel are the moral as well as the social ethics. The same concept among “The Prince” and “Wieng Kum Kam” novels are as follows: the virtue, the knowledge of war, the technique of government and the capability of political leaders. The difference points cause by socio-culture basis and the political context. Moreover, this research finds that the political leaders of Thailand should accept the moral of Thai politics as well as the social ethics because those are the political legitimacy.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleศึกษาเปรียบเทียบคุณลักษณะของผู้นำทางการเมืองที่ ปรากฎในงานเขียนเรื่อง “เจ้าผู้ปกครอง” และนวนิยาย เรื่อง “เวียงกุมกาม”en_US
dc.title.alternativeA Comparative Study of Characteristics of The Political Leaders in “The Prince” and “Wieng Kum Kam” Novels.en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นความแบบอิสระ เรื่องศึกษาเปรียบเทียบคุณลักษณะของผู้นำทางการเมืองที่ปรากฏในงานเขียนเรื่อง “เจ้าผู้ปกครอง” และนวนิยายเรื่อง “เวียงกุมกาม” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา และวิเคราะห์เปรียบเทียบคุณลักษณะของผู้นำทางการเมืองที่ปรากฎในงานเขียนแปลเรื่อง “เจ้าผู้ปกครอง” ของนิคโคโล มาคิอาเวลลี (Niccollo Machiavelli) และคุณลักษณะของผู้นำทางการเมืองของ “พระยามังราย”ที่ปรากฏในนวนิยายเรื่อง “เวียงกุมกาม” ของทมยันตี การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยด้วยวิธีการตีความ (Interpretive or hermeneutic) โดยกำหนดประเด็นในการศึกษา เป็น 3 ประเด็นการศึกษา ได้แก่ การเปรียบเทียบคุณลักษณะของผู้นำทางการเมืองในประเด็นการได้มาซึ่งอำนาจทางการเมืองและรัฐ การรักษาอำนาจทางการเมืองและเทคนิคในการปกครอง และคุณธรรมและโชคชะตาของผู้นำทางการเมือง ตลอดจนการศึกษาวิเคราะห์คุณลักษณะของผู้นำทางการเมืองที่มีนัยสำคัญต่อการศึกษาวิจัยในครั้งนี้และสังคมและการเมืองไทย ผลการศึกษาพบว่า คุณลักษณะของผู้นำทางการเมืองที่ปรากฎในงานเขียนเรื่อง “เจ้าผู้ปกครอง” และคุณลักษณะของผู้นำทางการเมืองของ“พระยามังราย”ที่ปรากฏในนวนิยายเรื่อง “เวียงกุมกาม” ไม่มีความแตกต่างมากนัก กล่าวคือ คุณลักษณะของผู้นำทางการเมืองที่มีความเหมือนกัน ได้แก่ คุณธรรมความสามารถของผู้นำทางการเมืองในการทำสงคราม และความรู้ความสามารถในการรักษาอำนาจและการรู้จักใช้เทคนิคในการปกครอง เพื่อรักษาอำนาจทางการเมือง ส่วนคุณลักษณะของ ผู้นำทางการเมืองที่มีความเหมือนกัน ได้แก่ ประเด็นเรื่องศีลธรรมและจริยธรรม ตลอดจนความรับผิดชอบทางศีลธรรม ซึ่งปรากฏอยู่ในนวนิยายเรื่องเวียงกุมกาม แต่ในงานเขียนเรื่องเจ้าผู้ปกครอง ไม่ได้ให้ความสำคัญในเรื่องความดีและความชั่วในเชิงศีลธรรมแต่อย่างใด หากแต่เน้นความสำคัญเรื่องความสุขุมรอบคอบของผู้นำทางการเมืองในการใช้อำนาจทางการเมือง เพื่อรักษาอำนาจทางการเมืองของผู้นำทางการเมือง จากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ทำให้เห็นว่า ความแตกต่างของคุณลักษณะของผู้นำทางการเมืองที่ปรากฏอยู่ในตัวบทที่นำมาศึกษา เกิดจากพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนบริบททางการเมืองที่แตกต่างกัน ส่วนนัยยะสำคัญที่มีต่อสังคมการเมืองไทยนั้น พบว่าผู้นำทางการเมืองไทยต้องยอมรับและอยู่ภายใต้เงื่อนไขของชุดความคิดและความเชื่อทางศีลธรรมของสังคม อันเป็นเครื่องค้ำจุนความชอบธรรมในการปกครอง การละเลยสิ่งดังกล่าวถือเป็นจุดเริ่มต้นของการสิ้นสุดลงของอำนาจ และความชอบธรรมในการปกครองen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.