Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68930
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ.ดร.เริงชัย ตันสุชาติ-
dc.contributor.advisorอ.ดร.นัทธมน ธีระกุล-
dc.contributor.advisorอ.ดร.จิราคม สิริศรีสกุลชัย-
dc.contributor.authorนายพิเชฐ ไชยวงค์en_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:39:35Z-
dc.date.available2020-07-21T05:39:35Z-
dc.date.issued2015-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68930-
dc.description.abstractThe study of determinant factors towards farmer’s decision making for colored-rice planting in Chiang Rai and Chiang Mai provinces have exploring determinant factors towards farmer’s decision making for colored-rice planting in Chiang Rai and Chiang Mai provinces. This study aims for studying farmer’s attitude towards colored-rice comparing with Hom Nin rice planting. 320 questionnaires were collected from those who were registered as rice farmer during 2013-2014 in these two provinces. Multinomial logistic regression was employed for data analysis. The findings as showed as followings: • The economic factors particular income was the strongest determinant factor towards farmer’s decision making for colored-rice planting in Chiang Rai and Chiang Mai provinces. • Once, the study exploring on each colored rice planting, it was founded that the determinant factors towards farmer’s decision making for red jasmine rice planting in Chiang Rai and Chiang Mai provinces were agricultural group, planting for their own consumption and sell for the left over, farmer’s life experience for colored-rice planting, area of landscape, income from yearly planting, and commitment. • While, Rice berry, it was found that the determinant factors towards farmer’s decision making for planting in Chiang Rai and Chiang Mai provinces were agricultural group, planting for their own consumption and sell for the left over, area of landscape, cost from second-year planting, price of paddy, and product’s guarantee. • Finally, Black sticky rice it was found that the determinant factors towards farmer’s decision making for planting in Chiang Rai and Chiang Mai provinces were agricultural group, planting for their own consumption and sell for the left over, farmer’s life experience for colored-rice planting, the landscape, cost from second-year planting, product’s guarantee, and commitment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกปลูกข้าวสีของเกษตรกรในจังหวัดเชียงรายและจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDeterminant Factors Towards the Decision to Plant Color Rice of Farmer in Chiang Rai and Chiang Mai Province.en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกปลูกข้าวสีของเกษตรกรในจังหวัดเชียงรายและจังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกษตรกรตัดสินใจเลือกปลูกข้าวสีของเกษตรกรจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ โดยศึกษาจากทัศนะคติของเกษตรกรในการเลือกปลูกข้าวสีพันธุ์ต่างๆ ซึ่งมีข้าวหอมนิลเป็นพันธุ์ที่ใช้เปรียบเทียบในการศึกษา ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการเก็บแบบสอบถามจากเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2556/57 ของจังหวัดเชียงรายและจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 320 ตัวอย่าง และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบจำลอง Multinomial Logit พร้อมทั้งเปรียบเทียบความแตกต่างของจังหวัดเชียงรายและจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งสรุปผลได้ดังนี้ จากการศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจปลูกข้าวสีของเกษตรกรในจังหวัดเชียงรายและจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านเศรษฐกิจในเรื่อง รายได้จากการเพาะปลูกมากที่สุด ขณะที่ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกปลูกข้าวหอมมะลิแดง คือ กลุ่มเกษตรกรรม ปลูกเพื่อบริโภคเหลือแล้วจึงขาย ประสบการณ์การปลูกข้าวสี ขนาดของพื้นที่เพาะปลูก รายได้จากการเพาะปลูก(นาปี) และพันธะสัญญา ในด้านปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกปลูกข้าวไรซ์เบอร์รี่ ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรรม ปลูกเพื่อบริโภคเหลือแล้วจึงขาย ขนาดของพื้นที่เพาะปลูก ต้นทุนการเพาะปลูก(นาปรัง) ราคาข้าวเปลือกแห้ง และมาตรฐานรับรองสินค้าเกษตร นอกจากนี้ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกปลูกข้าวก่ำล้านนา(เหนียวดำ) ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรรม ปลูกเพื่อบริโภคเหลือแล้วจึงขาย ประสบการณ์การปลูกข้าวสี พื้นที่ราบลุ่ม ต้นทุนการเพาะปลูก(นาปรัง) มาตรฐานรับรองสินค้าเกษตร และพันธะสัญญากับบริษัทen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.