Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68918
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.วรัท วินิจ-
dc.contributor.authorศิวลี อินทรวัตรen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:38:03Z-
dc.date.available2020-07-21T05:38:03Z-
dc.date.issued2015-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68918-
dc.description.abstractThis independent study aimed to investigate loyalty tendency of consumers in Mueang Chiang Mai district towards automobile brands. Population of this study included automobile owners who planned to purchase a new automobile within the next year. Data collection was completed by questionnaires and data obtained were assessed by the descriptive statistics, comprising of frequency, percentage, and mean. The findings presented that most respondents were male in the age of 40-49 years old with bachelor’s degree. They worked as government/state enterprise officers and had 3-4 family members. Their monthly income was ranged at 15,001-30,000 Baht and their family owned the total number of 1-2 automobiles. They currently used Toyota brand for their personal automobile (sedan). Within the next year, they planned to purchase the new personal automobile (sedan) in the same brand. Results of the study on loyalty tendency of consumers in Mueang Chiang Mai district towards automobile brands were showed as follows. The respondents rated on the behavior of brand switching cost at strongly agree level; but on the behaviors of loyalty to none of brand and purchasing a product with familiarity at agree level. They, however, rated on the behaviors of being friend and committing to a certain brand at neutral level. Regarding the behavior of brand switching cost, the respondents rated it at strongly agree level and the highest mean of their opinion was for the product worthiness. Regarding the behavior of loyalty to none of brand, the respondents rated it at agree level and the highest mean of their opinion was for qualifications of automobile. Regarding the behavior of purchasing a product with familiarity, the respondents rated it at agree level and the highest mean of their opinion was for the product worthiness. Regarding the behavior of being friend to a certain brand, the respondents rated it at neutral level and the highest mean of their opinion was for the good feelings towards services being offered by the old automobile brand. Regarding the behavior of committing to a certain brand, the respondents rated it at neutral level and the highest mean of their opinion was for having higher commitment to the old brand than the new one.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวโน้มความภักดีของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อตราสินค้ารถยนต์en_US
dc.title.alternativeLoyalty Tendency of Consumers in Mueang Chiang Mai District Towards Automobile Brandsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวโน้มความภักดีของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อตราสินค้ารถยนต์ ประชากรที่ทำการศึกษา คือผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ที่เป็นเจ้าของรถยนต์และต้องการที่จะซื้อรถยนต์คันใหม่ในระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปีข้างหน้า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม และประมวลผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 40-49 ปี มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพเป็นข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ มีจำนวนสมาชิกในครอบครัว 3-4 คน มีรายได้ต่อเดือน 15,001-30,000 บาท มีจำนวนรถยนต์ทั้งหมดของครอบครัว 1-2 คัน มียี่ห้อรถยนต์ที่ใช้ในปัจจุบันคือ Toyota มีประเภทรถยนต์ที่ใช้ในปัจจุบันคือรถยนต์นั่งส่วนบุคคล (เก๋ง) มียี่ห้อรถยนต์ที่จะซื้อในระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปีข้างหน้าคือยี่ห้อเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และมีประเภทรถยนต์ที่จะซื้อในระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปีข้างหน้า คือรถยนต์นั่งส่วนบุคคล (เก๋ง) ผลการศึกษาแนวโน้มความภักดีของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อตราสินค้ารถยนต์ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นต่อพฤติกรรมที่คำนึงถึงต้นทุนในการเปลี่ยนแปลงตราสินค้า อยู่ในระดับความคิดเห็นเห็นด้วยอย่างยิ่ง พฤติกรรมที่ไม่มีความภักดีต่อตราสินค้าใดเลย และพฤติกรรมที่ซื้อสินค้าเพราะความเคยชิน อยู่ในระดับความคิดเห็นเห็นด้วย พฤติกรรมที่เป็นเพื่อนกับตราสินค้าและพฤติกรรมที่มีความผูกพันต่อตราสินค้า อยู่ในระดับความคิดเห็นเฉยๆ ตามลำดับ เมื่อพิจารณาพฤติกรรมที่คำนึงถึงต้นทุนในการเปลี่ยนแปลงตราสินค้า พบว่าโดยรวมมีค่าเฉลี่ยเห็นด้วยอย่างยิ่ง ระดับความคิดเห็นในด้านความคุ้มค่ามีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด พฤติกรรมที่ไม่มีความภักดีต่อตราสินค้าใดเลย พบว่าโดยรวมมีค่าเฉลี่ยเห็นด้วย ระดับความคิดเห็นในด้านคุณสมบัติของรถยนต์มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด พฤติกรรมที่ซื้อสินค้าเพราะความเคยชิน พบว่าโดยรวมมีค่าเฉลี่ยเห็นด้วย ระดับความคิดเห็นในด้านความคุ้มค่ามีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด พฤติกรรมที่เป็นเพื่อนกับตราสินค้า พบว่าโดยรวมมีค่าเฉลี่ยเฉยๆ ระดับความคิดเห็นในด้านรู้สึกดีกับการบริการของรถยนต์ยี่ห้อเดิมมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด พฤติกรรมที่มีความผูกพันต่อตราสินค้า พบว่าโดยรวมมีค่าเฉลี่ยเฉยๆ ระดับความคิดเห็นในด้านผู้บริโภคจะรู้สึกผูกพันกับรถยนต์ยี่ห้อเดิมมากกว่ารถยนต์ยี่ห้อใหม่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ตามลำดับen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.