Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ยงยุทธ ยะบุญธง-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.authorวันลัดดา สุภาวงค์en_US
dc.date.accessioned2019-09-23T07:06:47Z-
dc.date.available2019-09-23T07:06:47Z-
dc.date.issued2016-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66875-
dc.description.abstractThe purposes of this study were 1) to study conditions and problems concerning the strategic performance -based budgeting of schools in Mae Chaem district and 2) to create a policy and practical proposal concerning the strategic performance -based budgeting of schools in Mae Chaem district. Two steps of studying were as follows: the first step was to study conditions and problems concerning strategic performance -based budgeting of schools in Mae Chaem district. The research participants consisted of school administrators and teachers who’s responsible for planning, finance and procurement which were 179 in total. The study instrument was a questionnaire. The data were analyzed by using mean and standard deviation. The second step was to create a policy and practical proposal concerning strategic performance -based budgeting of schools in Mae Chaem district. The informants were 8 experts. The data were collected by interview and analyzed using content analysis. The research findings were as follows: 1. The conditions the strategic performance -based budgeting of schools in Mae Chaem district were at a high level of all aspects namely: implementation of annual action plan annual, creation of annual action plan, monitoring and auditing of budget implementation, and report for improvement and development. However, the findings indicated problems in execution of strategic performance -based budgeting informed as follows: 1) Schools had been prepared a low future expenditure budget. 2) Less participation of school board in budget allocation 3) The persons who were in charge of school budgeting lacked of an understanding in procurement. 4) There were a few of auditing in the consistency between targets and products, and the estimated revenues. 2. The results of creating the policy and practical proposal concerning the strategic performance -based budgeting consisted of 3 components as follows: 1) the concepts of the strategic performance -based budgeting 2) the principles of the strategic performance -based budgeting and 3) the operational guidelines as the policy proposal for the office of the educational service area to implement the strategic performance -based budgeting and also the practical proposal for the school as a guideline and application for effectiveness of the strategic performance -based budgeting.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการบริหารen_US
dc.subjectงบประมาณen_US
dc.subjectผลงานen_US
dc.subjectยุทธศาสตร์en_US
dc.subjectโรงเรียนในอำเภอแม่แจ่มen_US
dc.titleการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของโรงเรียนในอำเภอแจ่ม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6en_US
dc.title.alternativeManagement of the Strategic Performance-Based Budget of Schools in Mae Chaem District, Chiang Mai Primary Educational Service Area Officeen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc371.206-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียน -- แม่แจ่ม (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashงบประมาณการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashการบริหารการศึกษา-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 371.206 ว115ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของโรงเรียนในอำเภอแม่แจ่ม 2) จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติในการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของโรงเรียนในอำเภอแม่แจ่ม แบ่งขั้นตอนการศึกษา 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของโรงเรียนในอำเภอแม่แจ่ม กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยผู้อำนวยการสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบงานแผนงาน งานการเงินและงานพัสดุ จำนวน 176 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและการปฏิบัติ การดำเนินงานในการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของโรงเรียนในอำเภอแม่แจ่ม โดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 8 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของโรงเรียนในอำเภอ แม่แจ่ม ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ ด้านการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี ด้านการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ด้านการติดตาม ตรวจสอบ การใช้งบประมาณ และด้านการรายผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา ปัญหาในการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ พบว่า 1) สถานศึกษามีการจัดเตรียมงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าค่อนข้างน้อย 2) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดสรรงบประมาณค่อนข้างน้อย 3) ผู้รับผิดชอบขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดซื้อ จัดจ้าง 4) มีการตรวจสอบเป้าหมายและผลผลิตให้สอดคล้องกับประมาณการรายได้ค่อนข้างน้อย 2) ผลการจัดทำข้อเสนอแนะในการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) แนวคิดการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ 2) หลักการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ 3) แนวทางการดำเนินงาน เป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานำไปใช้ในการบริหารจัดการ และข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติสำหรับโรงเรียนนำไปเป็นแนวทางและการปรับใช้ในการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของโรงเรียนให้เกิดประสิทธิผลยิ่งขึ้นไปen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full Text.pdfFull Text2.33 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.