Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66873
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Bordin Chinda | - |
dc.contributor.author | Sutta Chaiyarasamee | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-09-23T07:01:52Z | - |
dc.date.available | 2019-09-23T07:01:52Z | - |
dc.date.issued | 2016-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66873 | - |
dc.description.abstract | This research aimed to investigate from a Marxist perspective in the conflicts between two factions in the video game Metal Gear Solid 4: Guns of the Patriots. In order to study this particular topic, the theory of Karl Marx was used to explain the relationship and conflicts between the two factions appearing in the dialogue script from the game. In addition, Charles Sanders Peirce’s Theory of Signs was used to analyze several footages from the game in order to find evidence of denotation and connotation from a Marxist perspective in the game. According to the analysis of the in-game dialogues, the researcher found several examples that can be analyzed by applying Marxist theory to the game story such as 1) the in-game superior class called “The Patriots,” 2) the inferior groups in the game, and 3) the retaliation of the inferior groups against the superior class. Accordingly, these findings from the dialogues of the game resemble the antagonistic relationship between the oppressing bourgeois class and the exploited proletarian class in Marxist theory. In addition, the semiotic analysis using the Triadic of Signs and three kinds of signs of Charles Sanders Peirce also show significant support from the selected footages for a Marxist theoretical analysis. The footages were found to be indexical and symbolic signs, according to Peirce’s three kinds of signs, which can be explained by applying the concepts of Marxism: 1) the wealth and power of the in-game superior class, 2) the powerlessness and struggles of the inferior groups, and 3) the taking of power by the inferior groups after rebellion and retaliation against the superior class. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Marxism | en_US |
dc.subject | Semiotics | en_US |
dc.subject | Video game | en_US |
dc.subject | Metal Gear | en_US |
dc.subject | Peirce's | en_US |
dc.title | A Marxist Analysis of the Video Game Metal Gear Solid 4: Guns of the Patriots | en_US |
dc.title.alternative | การวิเคราะห์เชิงแนวคิดทฤษฎีแบบมาร์กซ์ในวิดีโอเกม เมทัล เกียร์โซลิด ๔: กันส์ ออฟ เดอะ เพเทรียตส์ | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | English language -- Analysis | - |
thailis.controlvocab.thash | Language and languages | - |
thailis.controlvocab.thash | Video games | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าฯ นี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวคิดทฤษฎีแบบมาร์กซ์ที่ปรากฏให้เห็น ในความขัดแย้งระหว่างตัวละครสองฝ่ายในวิดีโอเกม เมทัล เกียร์โซลิด ๔: กันส์ ออฟ เดอะ เพเทรียตส์ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้ทฤษฎีของ คาร์ล มาร์กซ์ มาใช้ในการวิเคราะห์และเพื่ออธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในเกมในมุมมองของความขัดแย้งทางชนชั้นในแบบมาร์กซ์ที่ปรากฏอยู่ในเนื้อเรื่องและบทสทนาของตัวละครต่าง ๆ นอกจากนี้ผู้วิจัยยังได้ใช้ทฤษฎีสัญญวิทยาของ ชาร์ลส์ แซนเดอร์ เพิร์ซ เข้ามาใช้วิเคราะห์เพื่อตีความหาข้อมูลในแบบของมาร์กซ์เพิ่มเติมจากภาพฉากต่าง ๆ ของเกม ซึ่งผลการวิเคราะห์บทสนทนาที่ปรากฏในเกมชี้ให้เห็นว่าเนื้อเรื่องของตัวเกมนั้น มีองค์ประกอบต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับทฤษฎีของมาร์กซ์ เช่น ๑) ชนชั้นที่มีอำนาจเหนือกว่าในเกม นามว่า “เดอะ เพเทรียตส์” ๒) ชนชั้นแรงงานที่มีฐานะต่ำกว่าในเกม และ ๓) การรวมตัวกันของชนชั้น ที่มีฐานะต่ำกว่าเพื่อโค่นล้มชนชั้นที่มีอำนาจเหนือกว่าในเกม ซึ่งการค้นพบเหล่านี้ได้สะท้อน ให้เห็นว่าเนื้อเรื่องของเกมนั้นมีความคล้ายคลึงกับความขัดแย้งระหว่างชนชั้นนายทุน (bourgeoisie) และชนชั้นกรรมาชีพ (proletariat) ในทฤษฎีของมาร์กซ์ นอกจากนี้ยังปรากฏหลักฐานเพิ่มเติมต่าง ๆ ที่สนับสนุนการปรากฏของแนวคิดทฤษฎี ของมาร์กซ์ด้วยจากการวิเคราะห์ภาพฉากต่าง ๆ ในเกมด้วยตรีภาคของสัญญะและชนิดของสัญญะของชาร์ลส์ แซนเดอร์ส เพิร์ซ ด้วย โดยพบว่าสัญญะประเภทดรรชนี (index) และสัญลักษณ์ (symbol) ที่ปรากฏในเกมนั้นสื่อความหมายต่าง ๆ ที่สนับสนุนทฤษฎีของมาร์กซ์ เช่น ๑) ความมั่งคั่งและอำนาจของชนชั้นที่มีอำนาจเหนือกว่าในเกม ๒) ความยากลำบากในการดำเนินชีวิตและ ความด้อยอำนาจของชนชั้นที่มีฐานะต่ำกว่าในเกม และ ๓) อำนาจที่กลับคืนมาสู่ชนชั้นที่มีฐานะ ต่ำกว่าหลังจากการปฏิวัติในเกม | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULL.pdf | Full | 2.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.