Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66863
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤนาถ ศราภัยวานิช-
dc.contributor.authorก่อศักดิ์ ตันวัฒนากูลen_US
dc.date.accessioned2019-09-23T04:24:34Z-
dc.date.available2019-09-23T04:24:34Z-
dc.date.issued2015-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66863-
dc.description.abstractIn the study, marketing mix affecting female undergraduate students of Mae Jo University towards Purchasing Facial Cosmetics. Samples used in the study female undergraduate students of Mae Jo University. The quotas for a total of 400 samples were collected for data collection. Most of the students who lived in municipality in each city in north of Thailand. Respondents net income per month does not exceed 5000 and have expenses between 5,001-10,000 per month. Marketing mix affecting female undergraduate students of Mae Jo University towards Purchasing Facial Cosmetics of overall levels are in high level. In each factor in the marketing mix that is product, price, place and promotion influences their decision to buy cosmetics in high level same on all sides. The sample featured in the three fators are effective products, Nearby Shop and a variety of price to choose from. The factors that influence marketing mix affecting female undergraduate students of Mae Jo University towards Purchasing Facial Cosmetics by Categorical Regression Analysis. Variables affecting female undergraduate students of Mae Jo University caused buying cosmetics. Representatives of variables of purchasing cosmetics are amounts of buying cosmetics for the face, expenses on cosmetics per visit and variable frequency to use cosmetics stores that have variable effects on purchases of cosmetics on the face of female undergraduate students of Mae Jo University significant at 0.1 and 0.05 founded basic information is associated with the acquisition are faculty and average cost per month, Information behaviors that are associated with the purchase are amount of cosmetics used for face all day, the need to open a cosmetics shop around Mae Jo University, the popularity of cosmetic brand, formats of promotional cosmetics, day and time to come to cosmetic stores, Next time when the decision to buy cosmetics for cosmetic use on a regular basis with the price increase, the introduction cosmetics to others and Information marketing mix that is associated with the acquisition are the packaging of the product. the price for the quality you get, to pay by credit card, Time to turn - off is appropriate, finally advertising through various media such as brochures, flyers, television, radio, print.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectส่วนประสมการตลาดen_US
dc.subjectนักศึกษาen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.subjectเครื่องสำอางen_US
dc.titleส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อนักศึกษาหญิงระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการซื้อเครื่องสำอางสำหรับใบหน้าen_US
dc.title.alternativeMarketing Mix Affecting Female Undergraduate Students of Mae Jo University Towards Purchasing Facial Cosmeticsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.8342-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยแม่โจ้ -- นักศึกษาปริญญาตรี-
thailis.controlvocab.thashเครื่องสำอาง -- การตลาด-
thailis.controlvocab.thashการเลือกซื้อสินค้า-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.sourceว/ภน 658.8342 ก198ส-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในการศึกษาส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อนักศึกษาหญิงระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในการซื้อเครื่องสำอางสำหรับใบหน้า มีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ นักศึกษาหญิงระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 400 ตัวอย่าง โดยส่วนใหญ่แล้วนักศึกษามีภูมิลำเนาอยู่ในภาคเหนือ และอยู่ในเขตเทศบาล มีรายได้ต่อเดือนสุทธิ ไม่เกิน 5,000 บาท ค่าใช้จ่ายต่อเดือน 5,001-10,000 บาท ในด้านปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อนักศึกษาหญิงระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยแม่โจ้โดยรวมมีผลต่อการตัดสินใจในการซื้อเครื่องสำอางในระดับมากและปัจจัยส่วนประสมการตลาด ทางด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านสถานที่และด้านการส่งเสริมการตลาดมีผลต่อการตัดสินใจในการซื้อเครื่องสำอางในระดับมากเท่ากันทุกด้าน โดยนักศึกษาให้ความสำคัญในปัจจัยย่อย 3 ลำดับแรกคือ ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพที่ดีตรงตามสรรพคุณที่บ่งบอกไว้ในฉลาก สถานที่จำหน่ายใกล้บ้าน และราคาของผลิตภัณฑ์มีหลากหลายให้เลือก ผลวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อเครื่องสำอางบนใบหน้าสำหรับนักศึกษาหญิงระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยการวิเคราะห์การถดถอยเชิงกลุ่ม(Categorical Regression Analysis) โดยกำหนดตัวแปรที่ทำให้เกิดการซื้อเครื่องสำอางบนใบหน้าได้แก่ ตัวแปรปริมาณที่ซื้อเครื่องสำอางสำหรับใบหน้า ตัวแปรค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเครื่องสำอางเฉลี่ยต่อครั้ง และตัวแปรความถี่ในการมาใช้บริการร้านค้าเครื่องสำอางพบตัวแปรที่มีผลกระทบต่อการซื้อสินค้าประเภทเครื่องสำอางบนใบหน้าของนักศึกษาหญิงปริญญาตรีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่นัยสำคัญที่ 0.1 และ 0.05 ทางด้านข้อมูลพื้นฐานที่มีความสัมพันธ์กับการซื้อได้แก่ กลุ่มคณะที่ศึกษา กับ ค่าใช้จ่ายรวมเฉลี่ยต่อเดือน ทางด้านพฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์กับการซื้อ ได้แก่ จำนวนเครื่องสำอางสำหรับใบหน้าที่ใช้ทั้งหมดแต่ละวัน ความต้องการให้มีร้านเครื่องสำอางมาเปิดบริการบริเวณรอบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ความนิยมใช้เครื่องสำอางจากตราสินค้า(Brand) รูปแบบรายการส่งเสริมการขายเครื่องสำอางวันและเวลาที่มาใช้บริการร้านค้าเครื่องสำอาง การตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางคราวต่อไปเมื่อราคาเครื่องสำอางที่ใช้อยู่เป็นประจำมีราคาเพิ่มขึ้น และการแนะนำเครื่องสำอางให้กับผู้อื่น สุดท้ายนี้ทางด้านส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับการซื้อได้แก่ บรรจุภัณฑ์หรือรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์สวยงามน่า ราคาเหมาะสมกับคุณภาพที่ได้รับ การชำระได้ด้วยบัตรเครดิต ระยะเวลาในการเปิด-ปิดร้านมีความเหมาะสม การโฆษณาผ่านสื่อต่างๆ เช่น แผ่นพับ ใบปลิว โทรทัศน์ วิทยุ สิ่งพิมพ์en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.16 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.