Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66352
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorChalongdej Kuphanumaten_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจิตรศิลป์ 9, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 44-94en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/85322/96289en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66352-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาถึงประวัติความเป็นมาและความหมาย ของคติความเชื่อเรื่องไตรภูมิและจักรวาลวิทยาพุทธศาสนา และศึกษาแนวคิด สัญลักษณ์ และรูปแบบทางศิลปกรรมของงานจิตรกรรมไทยประเพณี และ จิตรกรรมไทยร่วมสมัย ที่สะท้อนคติความเชื่อเรื่องไตรภูมิและจักรวาลวิทยา พุทธศาสนา ตลอดจนสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดคติจักรวาลวิทยา พุทธศาสนาจากงานจิตรกรรมไทย นำมาเป็นแรงบันดาลใจและแนวทางใน การสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัยให้เป็นสื่อสร้างสำนึกทางศีลธรรม ผลการวิจัย พบว่า คติความเชื่อเรื่องไตรภูมิและจักรวาลวิทยาพุทธศาสนา คือ องค์ความรู้ ในการอธิบายลักษณะโครงสร้างของจิตวิญญาณ ด้วยวิธีการสร้างจินตภาพที่ สะท้อนถึงรูปลักษณ์ของธรรมชาติฝ่ายนามธรรม โดยอาศัยสัญลักษณ์ต่างๆ นำมาเปรียบเทียบให้สอดคล้องกับรูปธรรมบางส่วนจากประสบการณ์ในโลก แห่งวัตถุ ในทางพุทธศาสนา ไตรภูมิคือ ภพภูมิที่สรรพสัตว์ทั้งหลายเวียน ว่ายตายเกิด ด้วยผลกรรมดีและกรรมชั่วของตน อันประกอบด้วย กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทั้งนี้ คติไตรภูมิยังเป็นรากฐานสำคัญของสังคมวัฒนธรรมไทย ที่สะท้อนถึงคุณค่าและความสำคัญของพระพุทธศาสนาและพระมหากษัตริย์ จากการศึกษาแนวคิด สัญลักษณ์ และรูปแบบของงานจิตรกรรมไทย พบว่า มีลักษณะเป็นทั้งภาพเขียนเล่าเรื่องภพภูมิต่างๆ และภาพแสดงโครงสร้างทาง กายภาพของโลกและจักรวาล ตามโลกทัศน์ของคนในสมัยโบราณ ซึ่งมีรูปแบบ และเทคนิคการสร้างสรรค์ที่หลากหลาย โดยสามารถสะท้อนความหมายเชิง สัญลักษณ์ที่สัมพันธ์กับงานพุทธศิลป์อื่นๆ ที่ปรากฏอยู่ในพุทธสถานอย่างเป็น องค์รวม นอกจากนี้ ผู้วิจัยได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัย โดยการตีความ หมายจากคติความเชื่อเรื่องไตรภูมิและจักรวาลวิทยาพุทธศาสนา นำมากำหนด เป็นแนวความคิดในการสร้างสรรค์ ได้แก่ แนวคิดคติจักรวาลวิทยาพุทธศาสนา แนวคิดโลกิยะ-โลกุตระ แนวคิดสังสารวัฏ สัญลักษณ์ดอกบัว สัญลักษณ์พระ ฉัพพรรณรังสี สัญลักษณ์การสักการบูชาด้วยตุง (ธง) สัญลักษณ์จากศิลปะการ ประดับกระจก สัญลักษณ์การวางผังอุโบสถและวิหารล้านนา ตลอดจนการจัด แสดงผลงานในนิทรรศการศิลปะร่วมสมัย ด้วยรูปแบบศิลปะแนวจัดวางและ ศิลปะสื่อผสมที่มีลักษณะเฉพาะตนจำนวน 3 ชุด เพื่อเป็นสื่อศิลปะที่ช่วยสร้าง สำนึกทางศีลธรรมและจริยธรรมให้แก่ผู้คนในสังคมen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคติไตรภูมิen_US
dc.subjectจักรวาลวิทยาพุทธศาสนาen_US
dc.subjectจิตรกรรมไทยen_US
dc.subjectศิลปะร่วมสมัยen_US
dc.subjectThe Belief of Tribhumien_US
dc.subjectBuddhist Cosmologyen_US
dc.subjectThai Paintingsen_US
dc.subjectContemporary Artsen_US
dc.titleจิต – จักรวาล: การสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัยให้เป็นสื่อสร้างสำนึกทางศีลธรรมen_US
dc.title.alternativeSpirit - Univeresen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.