Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/62894
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจาตุรงค์ กันชัย-
dc.contributor.authorวิจิตรา รูปดีen_US
dc.date.accessioned2018-12-11T07:32:18Z-
dc.date.available2018-12-11T07:32:18Z-
dc.date.issued2558-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/62894-
dc.description.abstractBackground: The study of suicide associated with drugs and psychotropic drugs The study determined that the risk of suicide that society, cultures and medications before death. However, data source after suicide is still insufficient. No explanation relationships between suicide and the detection of Methamphetamine, Morphine, Benzodiazepines and Antidepressants. Objective: The purpose of this study was to investigate the relationship between suicide and detection of Methamphetamine, Morphine, Benzodiazepines and Antidepressants. Methods: Cadavers that have no drug use history and drug overdose at Department of Forensic Medicine, Faculty of Medicine Chiang Mai University are used. The data is recorded and confirmed by toxicology laboratory from January 2010- February 2015, the total duration of 5 years and 2 months. Positive results from the urine screening tests were confirmed by liquid chromatography-tandem mass spectrometry (LC/MS/MS) Results: From total 127 cadavers, substances were not detected in 94 cadavers (74.01%) only 33 cadavers (25.99%) that the substances were found. Using the statistic Z-test P value < 0.05 we found that there was no relationship between suicide and the detection of Methamphetamine, Morphine, Benzodiazepines and Antidepressants. In 33 cadavers that the substances were detected, 9 cadavers found 2 types of substances and the rest found only 1 type of substances. Conclusion: This study can be concluded that there was no relationship between suicide in people having no drug use history and drug overdose and the detection of Methamphetamine, Morphine, Benzodiazepines and Antidepressants.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอัตวินิบาตกรรมen_US
dc.subjectสารเสพติดen_US
dc.subjectเมทแอมเฟตามีนen_US
dc.subjectมอร์ฟีนen_US
dc.subjectเบนโซไดอาซีปีนen_US
dc.subjectแอนตีดีเพร็สเซ็นท์en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างอัตวินิบาตกรรมกับการตรวจพบสารเสพติดเมทแอมเฟตามีน มอร์ฟีน เบนโซไดอาซีปีนและแอนตีดีเพร็สเซ็นท์ ในตัวอย่างปัสสาวะและเลือดen_US
dc.title.alternativeRelationship Between Suicide and the Detection of Methamphetamine Morphine Benzodiazepine and Antidepressants in Urine and Blood Samplesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc364.1522-
thailis.controlvocab.thashการฆ่าตัวตาย-
thailis.controlvocab.thashเมทแอมเฟตามีน-
thailis.controlvocab.thashมอร์ฟีน-
thailis.controlvocab.thashเบนโซไดอาซีปีน-
thailis.controlvocab.thashปัสสาวะ -- การวิเคราะห์-
thailis.controlvocab.thashเลือด -- การวิเคราะห์-
thailis.manuscript.callnumberว 364.1522 ว323ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภูมิหลัง จากการศึกษาการฆ่าตัวตายที่เกี่ยวข้องกับสารเสพติดและยาทางจิตเวช เป็นการศึกษาหาปัจจัยที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายที่แสดงผลเชิงสังคม วัฒนธรรม และการแพทย์ เพื่อบอกปัจจัยต่างๆ ที่เกิดขึ้นก่อนการเสียชีวิต แต่ข้อมูลภายหลังการเสียชีวิตยังมีน้อย และไม่แสดงความสัมพันธ์ของการ ฆ่าตัวตายกับการตรวจพบสารเสพติดกลุ่มเมทแอมเฟตามีนกลุ่มมอร์ฟีน กลุ่มยานอนหลับ และกลุ่มยาต้านโรคซึมเศร้า วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการทำอัตวินิบาตกรรมกับการตรวจพบสารเสพติดประเภทเมทแอมเฟตามีน มอร์ฟีน ยานอนหลับ และยาต้านโรคซึมเศร้า วิธีการศึกษา เก็บข้อมูลจากศพที่ทำอัตวินิบาตกรรมในผู้ที่ไม่ได้ตายจากการใช้ยาหรือสารเสพติด เกินขนาด ที่เข้ามาผ่าชันสูตรที่ภาควิชานิติเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ มีข้อมูลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการพิษวิทยา ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2553 - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 รวมระยะเวลาทั้งหมด 5 ปี 2 เดือน โดยมีผลตรวจเบื้องต้นจากปัสสาวะให้ผลบวกและตรวจยืนยันผลด้วยเทคนิคลิควิดโครมาโทกราฟีแทนเดมแมสส์สเปกโทรเมตรี (liquid chromatography-tandem mass spectrometry, LC/MS/MS) ผลการศึกษา ศพทั้งหมด 127 ศพ ตรวจไม่พบสารในร่างกาย 94 ศพ คิดเป็น 74.01% พบสาร ในร่างกาย 33 ศพคิดเป็น 25.99% เมื่อทดสอบด้วย Z - test P value < 0.05 พบว่า ค่าที่คำนวณได้ ทางสถิติปฏิเสธความสัมพันธ์ของการตรวจพบสารเสพติดประเภทเมทแอมเฟตามีน มอร์ฟีน ยานอน หลับและยาต้านโรคซึมเศร้าในจำนวนศพที่ตรวจพบสาร 33 ศพ พบว่า9 ศพ พบสาร 2 ชนิด ศพที่เหลือ พบ 1 ชนิด สรุป การทำอัตวินิบาตกรรมในผู้ที่ไม่ได้ตายจากการใช้ยาหรือสารเสพติดเกินขนาดไม่มีความสัมพันธ์ต่อการตรวจพบสารเสพติดกลุ่มเมทแอมเฟตามีน กลุ่มมอร์ฟีน กลุ่มยานอนหลับ และกลุ่มยาต้าน โรคซึมเศร้าen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.docxAbstract (words)177.47 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract 329.94 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.