Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48636
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Dr. Bordin Chinda | - |
dc.contributor.author | Niwat Siwawuth | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-05-09T04:17:33Z | - |
dc.date.available | 2018-05-09T04:17:33Z | - |
dc.date.issued | 2015-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48636 | - |
dc.description.abstract | This independent study aims to examine Francis Bacon, a British artist who painted during the aftermath of the World War II era, through his life and his selected paintings and how they are related to the idea of existentialism. Its purpose is to reflect on the human conditions of an individual who is struggling to fight for the essence of life, and in doing so encountered the existential crises involving alienation, loneliness and misery. These conditions are influenced by wars, strict rules in society, religion, traditions, family pressure, and difficult and complicated relationships. They restrict and obstruct an individual’s freedom and feeling of self-worth and may cause great unhappiness. The findings of this research through Francis Bacon’s life and his paintings determined that all human beings are born without the essence of life and yet have freedom to search for and obtain it for themselves, as all beings need to recognize a sense of ‘essence’ to deal with the emptiness and absurdity of life. A life without essence and freedom is a meaningless life. Nevertheless, human beings are social animals and need interactions with others as each person has freewill, his or her own sense of identity and a way to seek one’s own meaning of life. Therefore, all individuals should respect the notions of freedom and the rights of other people and learn to take this as a great responsibility and not diminish other peoples’ freedom or negatively affect those around them. Then, it is regarded as a valuable and deserved freedom. Even though, each individual encounters different experiences and diverse perspectives, we encounter the same facts, facing unavoidable misery, uncertainty of life and the unpredictability of mortality. Thus, the most important thing is that all individuals have to take every second and make it worthy and meaningful, seek self-happiness in life and be aware of the misery that might occur at any time during their existence. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Existentialism in Francis Bacon’s Life Through His . Biography, The Gilded Gutter Life of Francis Bacon . and His Selected Paintings | en_US |
dc.title.alternative | แนวคิดอัตถิภาวนิยมผ่านหนังสือชีวประวัติ เดอะ กิลเด็ด กัต . เตอร์ ไลฟ์ ออฟ ฟรานซิส เบคอน และผลงานจิตรกรรมของ . ฟรานซิส เบคอน | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระชิ้นนี้มุ่งหมายเพื่อศึกษาชีวิตและผลงานจิตรกรรม ของ ฟรานซิส เบคอน ศิลปินชาวอังกฤษในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยใช้ปรัชญาอัตถิภาวนิยมเป็นแนวทางในการวิเคราะห์ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงภาวะของมนุษย์ในระดับปัจเจกที่ต้องต่อสู้ดิ้นรนเพื่อให้ได้มาซึ่งสารัตถะของชีวิต แม้จะต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ชีวิต ความแปลกแยก ความโดดเดี่ยว และความทุกข์ ที่ส่งผลมาจากอาทิเช่น ภาวะสงคราม กฎระเบียบทางสังคม ศาสนา จารีตประเพณี ปัญหาครอบครัว และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอันสลับซับซ้อน สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอุปสรรคที่จำกัดเสรีภาพความเป็นปัจเจกและลดทอนคุณค่าของความเป็นมนุษย์ รวมทั้งเป็นมูลเหตุแห่งความทุกข์ จากผลการวิจัยในชีวิตและงานจิตรกรรมของ ฟรานซิส เบคอน พบว่ามนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่ได้มีสารัตถะโดยกำเนิด ทว่ามนุษย์ทุกคนล้วนเกิดมาพร้อมเสรีภาพเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการค้นหาสารัตถะของแต่ละคนด้วยตนเอง มนุษย์ล้วนต้องการสารัตถะเพื่อรับมือกับความว่างเปล่าและความไร้แก่นสารของชีวิต ชีวิตที่ขาดสารัตถะและเสรีภาพคือชีวิตที่ไร้ความหมาย อย่างไรก็ตามมนุษย์เป็นสัตว์สังคมและต้องการมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้าง ซึ่งแต่ละบุคคลล้วนมีเจตจำนงเสรี อัตลักษณ์และแนวทางในการค้นหาและดำเนินชีวิตที่เป็นของตนเอง ดังนั้นทุกคนควรเคารพสิทธิเสรีภาพต่อตนเองและคนรอบข้างเท่าที่เรียนรู้และใช้มันอย่างมีความรับผิดชอบโดยไม่กระทบเสรีภาพและก่อให้เกิดทุกข์ต่อผู้อื่น จึงนับได้ว่าเป็นเสรีภาพที่มีคุณค่าอย่างแท้จริง ถึงแม้แต่ละปัจเจกบุคคลจะมีประสบการณ์ชีวิตและความคิดที่แตกต่างกัน มนุษย์ทุกคนต่างหนีไม่พ้นที่ต้องเผชิญหน้ากับความจริง นั่นความทุกข์ ความไม่จีรังของชีวิต และความตายที่ไม่สามารถรับรู้ล่วงหน้าได้ สิ่งที่พึงกระทำคือการใช้ทุกเวลาอย่างมีคุณค่าและมีความหมาย แสวงหาความสุขด้วยตัวเองและเตรียมรับมือกับความทุกข์ที่รออยู่ข้างหน้าอย่างรู้เท่าทัน โดยระลึกถึงการมีตัวตนในปัจจุบัน | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 55.67 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 350.25 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
FULL.pdf | Full IS | 5.05 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.