Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48616
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.advisor | ชูชีพ พุทธประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | วัฒนา แสงสินธุ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-05-02T04:10:04Z | - |
dc.date.available | 2018-05-02T04:10:04Z | - |
dc.date.issued | 2558-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48616 | - |
dc.description.abstract | This independent study had two objectives which were 1) to study operational conditions and problems of the internal quality assurance system at Montfort College, Primary Section, Chiang Mai Province and 2) to study guidelines for increasing operational efficiency of the internal quality assurance system at Montfort College, Primary Section, Chiang Mai Province. There were three steps in the study which were 1) to study operational conditions and problems of the internal quality assurance system at Montfort College, Primary Section, Chiang Mai Province, 2) to study and draft guidelines for increasing operational efficiency of the internal quality assurance system at Montfort College, Primary Section, Chiang Mai Province, 3) to inspect guidelines for increasing operational efficiency of the internal quality assurance system at Montfort College, Primary Section. According to the study results of the operational conditions of the internal quality assurance system at Montfort College, Primary Section, Chiang Mai Province in eight components of the ministerial regulations on the system of educational quality assurance principles and methods, B.E. 2553 (2010), the overall conditions had compliance / reality in the highest level. In consideration of each element, the averages were sorted in descending order as followed: the operations of the educational institute’s educational management development plan had the highest average followed by the second rank which was determination of the educational institute’s educational standards, the later third rank which was the internal quality assessment of the educational institute’s educational standards, the later fourth rank which was preparation of the annual report that was the internal quality evaluation report, the later fifth rank which was arrangement of the educational institute’s educational management development plan aimed at the quality of the educational institute’s educational standards, continuously tracking and monitoring the educational quality and developing the educational quality with the same averages, and the final rank which was organization of the information and management system with the lowest average. The major problems and barriers to the implementation of quality internal assurance at Montfort College, Primary Section, Chiang Mai Province included knowledge and understanding in the educational quality assurance system and inconsideration and unrealization of the teachers and school personnel’s educational quality assurance importance. As a result, the operations of the school’s educational quality assurance were not effective and were not run consistently. The guidelines for increasing operational efficiency of the internal quality assurance system at Montfort College, Primary Section, Chiang Mai Province were focused on the leadership of the educational institute administrators, participation and cooperation of all parties, and continuation of the implementation. The results of the inspection of the accuracy, appropriateness, and feasibility were found that every issue was overall at the highest level. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การเพิ่มประสิทธิภาพ | en_US |
dc.subject | ระบบประกันคุณภาพ | en_US |
dc.subject | โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย | en_US |
dc.title | แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกประถม จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for Increasing Operational Efficiency of the Internal Quality Assurance System at Montfort College, Primary Section, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 371.2 | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย | - |
thailis.controlvocab.thash | ประกันคุณภาพการศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียน -- เชียงใหม่ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 371.2 ว113น | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพและปัญหา การดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกประถม จังหวัดเชียงใหม่ และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกประถม จังหวัดเชียงใหม่ มีขั้นตอนในการศึกษา 3 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายใน ของโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกประถม จังหวัดเชียงใหม่ 2) การศึกษาและร่างแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกประถม จังหวัดเชียงใหม่ 3) การตรวจสอบแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกประถม ผลการศึกษา สภาพการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกประถม จังหวัดเชียงใหม่ ทั้ง 8 องค์ประกอบ ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 พบว่า โดยรวมมีการปฏิบัติ/เป็นจริง อยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาแต่ละองค์ประกอบ เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษามีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาอันดับ 2 คือ การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ต่อมาอันดับที่ 3 คือการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ต่อมาอันดับที่ 4 คือการจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ต่อมาอันดับที่ 5 คือการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องมีค่าเฉลี่ยที่เท่ากัน และอันดับสุดท้ายคือการจัดระบบบริหารและสารสนเทศมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด สำหรับปัญหา และอุปสรรคที่สำคัญต่อการดำเนินการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกประถม จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจในระบบประกันคุณภาพการศึกษา ความไม่ตระหนักและไม่เห็นความสำคัญในการประกันคุณภาพการศึกษาของครูและบุคลากรในโรงเรียน ส่งผลให้การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนไม่มีประสิทธิภาพและไม่ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกประถม จังหวัดเชียงใหม่ คือมุ่งเน้นภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา การมีส่วนร่วมความร่วมมือจากทุกฝ่าย และความต่อเนื่องของการดำเนินการ ส่วนผลการตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสม และความเป็นไปได้ พบว่า ทุกประเด็นโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 181.42 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
FULL.pdf | Full IS | 5.03 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 204.03 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.