Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48613
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.advisorยงยุทธ ยะบุญธง-
dc.contributor.authorวิทยา อนุเกรียงไกรen_US
dc.date.accessioned2018-05-02T04:04:57Z-
dc.date.available2018-05-02T04:04:57Z-
dc.date.issued2558-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48613-
dc.description.abstractThis independent study has two purposes ; First, to study the condition and the problems of living library administration of Sri Chom Thong School, Chiang Mai Province. Second, in order to provide guidelines for living library administration of Sri Chom Thong School, Chiang Mai Province. There are three steps; First, study the condition and the problems of living library administration of Sri Chom Thong School, Chiang Mai Province. The population in study case were a school principal and teachers of Sri Chom Thong School, Chiang Mai Province 2014. The equipment in the study case was a questionnaire. The data were analyzed by using average percent, mean and standard deviation. Second step, provide guidelines for living library administration of Sri Chom Thong School, Chiang Mai Province. Five librarians who got reward in practice from Chiang Mai Primary Educational Service Area Office from area 1–6 were selected. The equipment used in the study was a questionnaire. The data were analyzed by summarizing. The last step, inspect the efficacy of guidelines for living library administration of Sri Chom Thong School, Chiang Mai Province. A total of five people between supervisors and librarians who have much experience in library administration at least five years inspect the feasibility, the suitability and the utility for the guidelines which had been provided. The data were analyzed by using mean and standard deviation. The result of the study found that the services of the library lacking computer for searching data and lacking modern information tools. Also, the library system wasn’t up–to–date. The guidelines for living library administration of Sri Chom Thong School is PDCA (Plan–Do–Check-Act); preparation of personal and planning library framework comply with school’s policy and expenditure. Also provide responsible person for the library’s activities who work together with the librarian. Follow the plans by promoting a project of the use of library and provide the performance calendar. Prepared a questionnaire for the user in order to reorganize the efficiency of the library. The result of the feasibility, the suitability and the utility of living library administration of Sri Chom Thong School was mostly in good level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการบริหารงานห้องสมุดen_US
dc.subjectห้องสมุดมีชีวิตen_US
dc.subjectโรงเรียนศรีจอมทองen_US
dc.titleแนวทางการบริหารงานห้องสมุดมีชีวิตของโรงเรียนศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for Living Library Administration of Sri Chom Thong School, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc027.8222-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนศรีจอมทอง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashห้องสมุดโรงเรียน -- การบริหาร-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนประถมศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 027.8222 ว346น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการบริหาร งานห้องสมุดมีชีวิตของโรงเรียนศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อจัดทำแนวทางการบริหารงานห้องสมุดมีชีวิตของโรงเรียนศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีขั้นตอนการศึกษา 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานห้องสมุดมีชีวิตของโรงเรียนศรีจอมทอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้อำนวยการโรงเรียนและครูของโรงเรียนศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2557 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำร่างแนวทางการบริหารงานห้องสมุดมีชีวิตของโรงเรียนศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ครูบรรณารักษ์ในโรงเรียนที่ได้รับรางวัลดีเด่นการบริหารงานห้องสมุดมีชีวิตของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1–6 จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารงานห้องสมุดมีชีวิตของโรงเรียนที่ได้รับรางวัลดีเด่น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์และขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบประสิทธิภาพของร่างแนวทางการบริหารงานห้องสมุดมีชีวิตของโรงเรียนศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบหรือเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการห้องสมุดโรงเรียนและครูบรรณารักษ์ที่มีความรู้ความสามารถด้านการบริหารงานห้องสมุด และมีประสบการณ์ด้านการบริหารงานห้องสมุดมาแล้วอย่างน้อย 5 ปี จำนวน 5 คน เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ของแนวทางที่สร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานห้องสมุดมีชีวิตของโรงเรียนศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ตามกรอบตัวชี้วัดความสำเร็จในการจัดห้องสมุดโรงเรียนให้มีชีวิตของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2549 ทั้ง 3 ด้าน พบว่า ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย ส่วนปัญหาที่พบคือขาดการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการสืบค้นข้อมูลหรือการให้บริการ ขาดเครื่องมืออุปกรณ์ที่จัดเก็บสำหรับงานสารสนเทศที่ทันสมัย การจัดระบบงานห้องสมุดยังไม่เป็นปัจจุบันเท่าที่ควร ส่วนแนวทางการบริหารงานห้องสมุดมีชีวิตของโรงเรียนศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ 1 คือ เน้นใช้กระบวนการคุณภาพครบวงจร (PDCA) ประกอบด้วย การวางแผนงานห้องสมุดได้แก่ การเตรียมความพร้อมของบุคลากร การกำหนดแผนงานห้องสมุดให้สอดคล้องกับนโยบาย วัตถุประสงค์ของสถานศึกษาและงบประมาณ การกำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรมห้องสมุดร่วมกับครูบรรณารักษ์ การปฏิบัติตามแผน ได้แก่ จัดทำโครงการส่งเสริมการใช้ห้องสมุด จัดทำปฏิทิน การปฏิบัติงาน การดำเนินงานตามกิจกรรม การตรวจสอบ โดยบันทึกหลังการสอนและบันทึก การเข้าใช้กิจกรรมห้องสมุด จัดทำแบบสอบถามเพื่อสอบถามความสนใจและความเห็นส่วนตัวเกี่ยวกับกิจกรรม โดยให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นผู้ตอบแบบสอบถามที่กำหนดให้ การบันทึกสถิติผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามที่ต้องการ จัดเก็บข้อมูลการทดสอบผู้เรียนในรายวิชาเกี่ยวกับห้องสมุด พัฒนาการและความรู้ที่นักเรียนได้จากการเรียนวิชาห้องสมุด การรายงานการปฏิบัติงานห้องสมุด โดยจัดสัปดาห์งานห้องสมุดหรือนิทรรศการของห้องสมุด เพื่อรายงานผลการดำเนินงานและร่วมกันปรับปรุง โดยนำผลจากการประเมินมาวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสียของการดำเนินงานห้องสมุดมาใช้ใน การวางแผนงานห้องสมุดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานครั้งต่อไป สำหรับผลการตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ของแนวทาง การบริหารงานห้องสมุดมีชีวิตโรงเรียนศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2ABSTRACT.docxAbstract (words)183.49 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 323.64 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS3.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.