Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48606
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัญญา กำศิริพิมาน-
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.authorประภัสสร พรมคำตันen_US
dc.date.accessioned2018-05-02T03:07:49Z-
dc.date.available2018-05-02T03:07:49Z-
dc.date.issued2558-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48606-
dc.description.abstractThis study was to Development of Collaborative Learning Plans on Historical Evidence to Develop Solving Skills Among Mathayom Suksa 2 Students, : The target group included 5 evaluators on the learning plans. The instruments used included 4 collaborative learning plans and 4 evaluation forms. The data were analyzed in terms of mean and standard deviation and presented the results in tables with explanation. The results included the 4 collaborative learning plans: (1) The tracks old town of Lanna pond, (2) The Historical Evidence river basin of Ping River – Kuang River, (3) The Inscription of Lanna, and (4) Local Wisdom of Lanna. Every plan was rated very appropriate (X= 2.91) in the aspects of learning standard setting, indicators, learning objectives, essential contents, learning substances, presenting desirable. characteristics to promote solving skills, learning media and resources, and measurement and evaluation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือen_US
dc.subjectนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.subjectทักษะการแก้ปัญหาen_US
dc.titleการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.title.alternativeDevelopment of Collaborative Learning Plans on Historical Evidence to Develop Solving Skills Among Mathayom Suksa 2 Studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc300.712-
thailis.controlvocab.thashสังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ-
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมการเรียนการสอน-
thailis.manuscript.callnumberว 300.712 ป1711ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้คือ ผู้ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาให้กับผู้เรียนจำนวน 4 แผน และแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 ชุด วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยและ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน นำเสนอข้อมูลด้วยตารางประกอบความเรียงบรรยาย ผลการศึกษาปรากฏว่าได้แผนการเรียนรู้ 4 แผน คือ แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือที่ 1 เรื่อง ตามรอยเมืองโบราณแอ่งล้านนา แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือที่ 2 เรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์ลุ่มน้ำปิง–น้ำกวง แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือที่ 3 เรื่องเล่าขานด้วยศิลาจารึกล้านนา และแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือที่ 4 เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนา โดยทุกแผนการจัดการเรียนรู้มีความเหมาะสมมาก (X= 2.91) ทั้งด้านการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การสอดแทรกทักษะกระบวนการแก้ปัญหา สื่อและแหล่งเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผลen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)52.76 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract331.96 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS5.19 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.