Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48603
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีณา วโรตมะวิชญ-
dc.contributor.advisorอุไรวรรณ หาญวงค์-
dc.contributor.authorอรทัย กันทะลอมen_US
dc.date.accessioned2018-05-02T03:03:22Z-
dc.date.available2018-05-02T03:03:22Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48603-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนโปรแกรม เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และเพื่อศึกษาผลการใช้บทเรียนโปรแกรมเรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการหาประสิทธิภาพของบทเรียน ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวนนักเรียน 40 คน ในขณะที่กลุ่มเป้าหมายที่ใช้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 8 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนวัดวังสะแกง อำเภอเวียงหนองล่อง จังหวัดลำพูน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยบทเรียนโปรแกรมชนิดเส้นตรง จำนวน 2 เล่ม และแบบทดสอบหลังเรียน วิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพคะแนนหลังเรียนโดยหาค่าร้อยละ แล้วเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ 80/80 และร้อยละ 80 ตามลำดับ นำเสนอข้อมูลเป็นตารางประกอบคำบรรยาย ผลการศึกษาพบว่า ค่าประสิทธิภาพของบทเรียนโปรแกรมเรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 คือ 93.68/87.28 ซึ่งมากกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้และ หลังการใช้บทเรียนโปรแกรม นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย มีคะแนนเฉลี่ยที่ได้จากการทำแบบทดสอบหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 91.60 ได้สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 80en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการพัฒนาบทเรียนen_US
dc.subjectเรขาคณิตสามมิติen_US
dc.subjectนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.titleการพัฒนาบทเรียนโปรแกรม เรื่องรูปเรขาคณิตสามมิติ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeDevelopment of Programmed Instruction Entitled Three-dimensional Geometric Figures for Prathom Suksa 5 Studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc372.72-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนวัดวังสะแกง (ลำพูน)-
thailis.controlvocab.thashเรขาคณิต -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashคณิตศาสตร์ -- แผนการสอน-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาขั้นประถม -- ลำพูน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 372.72 อ174ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractThis study was aimed at constructing and finding the result of Programmed Instruction on the Topic of Three-dimensional Geometric Figures for Prathom Suksa 5 students, and studying the results after using the constructed Programmed Instruction of those students. The sample used for finding the efficiency were 40 Prathom Suksa 5 students, meanwhile the target group was 8 Prathom Suksa 5 students, enrolled in the second semester of 2015 academic year at Wat Wangsakaeng School, Wiang Nong Long district, Lamphun province. The instruments used were 2 sets of linear – type programmed instruction, and tests. The data of efficiency and post – test score were analyzed in terms of percentage and mean and then compared with the 80/80, and 80% criteria respectively. The findings were presented in tables with description. The findings reveal that : 1)The efficiency of Programmed Instructions on the topic of Three-dimensional Geometry Figures was 93.88/87.28 which was higher than the set criteria 2) For the target students, their post – test average scores was 91.60 % which was higher than the set score of 80%en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)172.52 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract312.71 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS4.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.