Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48550
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทรงยศ กิจธรรมเกษร-
dc.contributor.authorปาลวัตร มะลิทองen_US
dc.date.accessioned2018-04-26T09:24:31Z-
dc.date.available2018-04-26T09:24:31Z-
dc.date.issued2559-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48550-
dc.description.abstractConstruction planning plays an important role in today’s construction in order to monitor, track, and evaluate the construction performance. Recently, Repetitive Scheduling Method (RSM) is developed to consider repetitive activities in the construction planning. The RSM utilize resources and eliminates float in repetitive processes, leads to better cost effective than the ordinary Critical Path Method (CPM). This study adopts the Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) technique to identify pros and cons in applying the RSM for the highway construction under the Department of Highways, Ministry of Transport. Questionnaires are distributed to experts, including project manager, director of planning section, director of road construction section and director of planning and evaluation group. The results show that the RSM helps manage the usage of resources, reducing floats of activities and hence cost-saving benefits. Nevertheless, The RSM is a complicated method. The cost identification is not fully compatible with the standard procurement of Department of Highways (DOH). To implement the RSM in DHO, the staffs should be trained and a commercial RSM software should be developed. Further, efficient coordination between related departments/contractors are necessary to satisfy the RSM main concept of continuous repetitive processes.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแนวทางกen_US
dc.subjectระบบควบคุมen_US
dc.subjectวิธีกำหนดเวลาการทำงานแบบทำซ้ำen_US
dc.subjectโครงการก่อสร้างถนนen_US
dc.subjectกรมทางหลวงen_US
dc.titleแนวทางการปรับใช้ระบบควบคุมโครงการด้วยวิธีกำหนดเวลาการทำงานแบบทำซ้ำในโครงการก่อสร้างถนนของกรมทางหลวงen_US
dc.title.alternativeGuideline for Application of Repetitive Scheduling Method for Department of Highways’ Road Construction Projectsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc692.5-
thailis.controlvocab.thashโครงการก่อสร้าง -- การควบคุม-
thailis.controlvocab.thashถนน -- การออกแบบและการสร้าง-
thailis.controlvocab.thashการก่อสร้าง -- การวางแผน-
thailis.manuscript.callnumberว 692.5 ป277น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวางแผนงานก่อสร้างมีความสำคัญอย่างยิ่งในการควบคุม ดูแล ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานก่อสร้าง ปัจจุบันได้มีการพัฒนาและนำวิธีกำหนดเวลาการทำงานแบบทำซ้ำ หรือ Repetitive Scheduling Method (RSM) มาวางแผนงานในโครงการก่อสร้างที่มีลักษณะการทำงานแบบทำซ้ำ โดย RSM จะช่วยจัดการการใช้ทรัพยากรให้ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ งานศึกษานี้จะศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการปรับใช้ RSM ในโครงการก่อสร้างถนน ที่มีรูปแบบการทำงานที่ซ้ำกันอย่างมาก เทคนิคการวิจัยแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) เพื่อสอบถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ ถึงประโยชน์ ข้อดี ข้อเสีย แนวโน้มในการปรับใช้ และแนวโน้มของปัญหาหรืออุปสรรคในการปรับใช้ RSM ถูกนำมาเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์สำหรับกรณีศึกษาโครงการก่อสร้างของกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม ผลจากการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่าวิธี RSM มีข้อดีในการจัดการใช้ทรัพยากร ช่วยควบคุมต้นทุนงานก่อสร้างจากกิจกรรมต่อเนื่อง ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำมาใช้งานเกิดจากการใช้งานมีความยุ่งยาก การแสดงรายละเอียดการใช้งบประมาณยังไม่สอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานของ กรมทางหลวง แนวทางการปรับใช้โดยการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบให้มีความรู้ มีความคุ้นเคย และมีการพัฒนา Software ที่มีมาตรฐานสากล ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรวมถึงผู้รับเหมา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินโครงการจากการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องตามหลักการของ RSMen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)57.7 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 251.31 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS7.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.