Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46132
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิชญลักษณ์ พิชญกุล | - |
dc.contributor.author | ศิริชัย ฉายบัณฑิต | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-04-20T08:59:07Z | - |
dc.date.available | 2018-04-20T08:59:07Z | - |
dc.date.issued | 2558-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46132 | - |
dc.description.abstract | The independent study purposed to study on the management of oil palm management by the members of Lanna Oil Palm Cooperative Limited in Chiang Rai Province. The study method consisted of information collection by in-depth interview and secondary data. The study populations were members of Lanna Oil Palm Cooperative Limited in Chiang Rai, using purposive sampling method to select the members who are knowledgeable, proficient and experienced in oil palm management not less than 5 years and own oil palm not less than 6 years. Their oil palm has suitable plantation managements according to the academic theory of Department of Agriculture, which means there are operating data record, regular revenue and expense statement of oil palm and having agricultural products at 2.3 – 3 tons/rai/year in average. There were 4 members in the top rank. In the study, their names would be replaced by A B C D instead of their real names for confidential purpose. According to the study, it was found that the 4 members have managed their oil palm plantation accurately by applying several theories. These theories composed of place selection, palm plant selection, gardening and harvesting. These members have been able to manage their oil palm to return a large amount of products every year, sorting members in order of their agricultural products from the top to the least; Member B, Member D, Member A and Member C respectively. After the analysis of capital cost, it showed that each member has different cost, sorting members in order of their cost in every year from the least to the highest; Member D, Member C, Member A and Member B respectively. The return analysis of members revealed the different result, sorting members of their return benefit in every year from the highest to the fewest; Member B, Member D, Member A and Member C respectively. Finally, regarding the analysis of payback period, the payback period of each member showed as the following: 9 years 7 months and 3 days of Member D, 12 years, 1 month and 8 days of Member A, 12 years, 5 months and 5 days of Member B and 18 years, 8 months and 1 day of Member C respectively. According to the result, the management of the members of Lanna Oil Palm Cooperative Limited in Chiang Rai is different in some factors which results to the different products. The member who has the most products prefers loam, using water from irrigation, digging 50x50 cm of hole size, bedding the hole with chemical fertilizers formula 0-3-0 with 300 g/plant, reviving the dead palm by a 9-month-old seedling, eradicating weeds 12 times a year, the following quantities of fertilizers in every year; 39.6 kg in year 1, 118.8 kg in year 2, 158.4 kg in year 3, 266.2 kg in year 4 and 297.0 kg in year 5, and lastly watering palms at 250 liters/plant/time. This differs from the member who has the fewest products regarding clay selection, using water from community’s water resource, digging 40x40 cm of hole size, bedding the hole by chemical formula 0-3-0 with 250 g/plant, reviving the dead palm by an 11-year-old seedling, eradicating weeds 18 times a year, the amount of fertilizers: 28.6 kg in year 107.8 kg in year 2, 151.8 kg in year 3, 239.8 kg in year 4 and 275.9 kg in year 5, and the watering palms for 180 liters/plant/time. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การจัดการ | en_US |
dc.subject | สวนปาล์มน้ำมัน | en_US |
dc.subject | สหกรณ์ปาล์มน้ำมันล้านนา จำกัด | en_US |
dc.title | การจัดการสวนปาล์มน้ำมันของสมาชิกสหกรณ์ปาล์มน้ำมันล้านนา จำกัด จังหวัดเชียงราย | en_US |
dc.title.alternative | Plantation Oil Palm Management of Lanna Oil Palm Agriculture Cooperative Limited., Chiang Rai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 633.851 | - |
thailis.controlvocab.thash | น้ำมันปาล์ม | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรกร -- เชียงราย | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 633.851 ศ373ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการสวนปาล์มน้ำมัน ของสมาชิก สหกรณ์ปาล์มน้ำมันล้านนา จำกัด จังหวัดเชียงรายมีวิธีการศึกษาโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ประชากรในการศึกษาคือสมาชิกสหกรณ์ปาล์มน้ำมันล้านนา จำกัด จังหวัดเชียงรายใช้วิธีแบบสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงคัดเลือกสมาชิกสหกรณ์ที่มีความรู้ ความชำนาญ มีประสบการณ์ในการทำสวนปาล์มน้ำมันไม่ต่ำกว่า 5 ปี มีสวนปาล์มน้ำมันที่มีอายุ ไม่ต่ำกว่า 6 ปี มีการจัดการสวนปาล์มน้ำมันที่เหมาะสมตามหลักวิชาการของกรมวิชาการเกษตร มีการจดบันทึกข้อมูลการดำเนินงาน บัญชีรายรับ-รายจ่าย ของสวนปาล์มน้ำมันอย่างสม่ำเสมอ และมีผลผลิตเฉลี่ย 2.3 -3.0 ตัน/ไร่/ปี ซึ่งสูงที่สุดในกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ปาล์มน้ำมันล้านนา จำกัด จังหวัดเชียงราย ทั้งสิ้น 4 รายโดยในการศึกษานี้จะใช้ A B C D แทนชื่อจริงเพื่อรักษาข้อมูลไว้เป็นความลับ จากการศึกษาการจัดการสวนปาล์มน้ำมันของสมาชิกสหกรณ์ปาล์มน้ำมันล้านนา จำกัด จังหวัดเชียงรายพบว่า สมาชิกสหกรณ์ทั้ง 4 รายมีการจัดการสวนปาล์มน้ำมันตามขั้นตอนโดยใช้หลักการต่างๆ คือ การเลือกพื้นที่ การเตรียมพื้นที่ การเลือกพันธุ์ปาล์มน้ำมัน การปลูก การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยวซึ่งสมาชิกสหกรณ์สามารถจัดการสวนปาล์มน้ำมันให้มีจำนวนผลผลิตในแต่ละปีโดยจัดเรียงจากจำนวนมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด คือ สมาชิก B สมาชิก D สมาชิก A และสมาชิก C ตามลำดับ เมื่อวิเคราะห์ต้นทุน สมาชิกแต่ละรายมีต้นทุนที่แตกต่างกันจัดเรียงจากสมาชิกที่มีต้นทุนในแต่ละปีที่น้อยที่สุดไปหามากที่สุด คือ สมาชิก D สมาชิก C สมาชิก A และ สมาชิก B ตามลำดับ วิเคราะห์ผลตอบแทนสมาชิกแต่ละรายมีผลตอบแทนที่แตกต่างกันจัดเรียงจากสมาชิกที่มีผลตอบแทนในแต่ละปีที่มากที่สุดไปหาน้อยที่สุด คือ สมาชิก B สมาชิก D สมาชิก A และ สมาชิก C ตามลำดับ และนำมาวิเคราะห์หาระยะเวลาคืนทุนพบว่า สมาชิกสมาชิก D มีระยะเวลาคืนทุน 9 ปี 7 เดือน 3 วัน สมาชิก A มีระยะเวลาคืนทุน 12 ปี 1 เดือน 8 วัน สมาชิก B มีระยะเวลาคืนทุน 12 ปี 5 เดือน 5 วัน และสมาชิก C มีระยะเวลาคืนทุนมากกว่า 18 ปี 8 เดือน 1วัน ตามลำดับ จากข้อค้นพบ การจัดการสวนปาล์มน้ำมันของสมาชิกสหกรณ์ปาล์มน้ำมันล้านนา จำกัด จังหวัดเชียงรายมีความแตกต่างกันในบางปัจจัยทำให้จำนวนผลผลิตเฉลี่ยแตกต่างกัน สมาชิกที่มีจำนวนผลผลิตมากที่สุดคือ เลือกชนิดดินร่วน แหล่งน้ำจากชลประทาน ขุดหลุมปลูกขนาด 50x50 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยเคมีสูตร 0-3-0 ปริมาณ 300 กรัม/ต้น ซ่อมแซมต้นปาล์มที่ตายไปด้วยกล้าปาล์มอายุ 9 เดือน กำจัดวัชพืชปีละ 12 ครั้ง ปริมาณปุ๋ย ปีที่ 1 ปริมาณ 39.6 กก. ปีที่ 2 ปริมาณ 118.8 กก.ปีที่ 3 ปริมาณ 158.4 กก. ปีที่ 4 ปริมาณ 266.2 กก. ปีที่ 5 ปริมาณ 297.0 กก.กก.และปริมาตรการรดน้ำปาล์มน้ำมัน 250 ลิตร/ต้น/ครั้ง ซึ่งแตกต่างกับสมาชิกที่มีจำนวนผลผลิตน้อยที่สุด คือ เลือกชนิดดินเหนียว แหล่งน้ำจากสระน้ำชุมชน ขุดหลุมปลูกขนาด 40x40 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยเคมีสูตร 0-3-0 ปริมาณ 250 กรัม/ต้น ซ่อมแซมต้นปาล์มที่ตายไปด้วยกล้าปาล์มอายุ 11 เดือน กำจัดวัชพืชปีละ 18 ครั้ง ปริมาณปุ๋ย ปีที่ 1 ปริมาณ 28.6 กก. ปีที่ 2 ปริมาณ 107.8 กก.ปีที่ 3 ปริมาณ 151.8 กก. ปีที่ 4 ปริมาณ 239.8 กก. ปีที่ 5 ปริมาณ 275.0 กก.กก.และปริมาตรการรดน้ำปาล์มน้ำมัน 180 ลิตร/ต้น/ครั้ง | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | 180.76 kB | Microsoft Word XML | View/Open | |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 325.28 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 3.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.