Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46116
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพร ศุทธากรณ์-
dc.contributor.authorนิรันดร์ สุวรรณ์en_US
dc.date.accessioned2018-04-17T09:08:26Z-
dc.date.available2018-04-17T09:08:26Z-
dc.date.issued2558-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46116-
dc.description.abstractAppropriate health belief promotes compliance behavior with prescribed medication among diagnosed hypertensive person. This leads to being able to control blood pressure level. The purpose of this study is to investigate health belief and compliance to prescribed mediation among high blood pressure patients at Thakham District Health Promoting Hospital, Mueang District, Phrae Province. A total of 133 patients diagnosed with hypertension and hyperlipidemia were selected to participate in the study. This study was carried out using a pre-structured and validated questionnaire, designed and developed based on literature review. The questionnaires were constructed into three parts: 1) general information, 2) health belief questions; and 3) compliance behavior to prescribed medication. Face validity of the questionnaire instrument in Part 2 and 3 was approved by experts in the field of health education. Content Validity of the two parts was approved with the content validity index, 0.81 and 0.72, respectively. The alpha Cronbach coefficient of the reliability test for the questionnaire was 0.70. Results of this study regarding to health belief were classified into three parts. Perceived severity of the disease and perceived benefit of medication taking were at high level (=34.6, S.D = 0.3 and= 29.3, S.D = 0.6, respectively). Perceived barriers of medication-taking was moderate level (=14.7, S.D = 1.1). Moreover, compliance behavior with prescription medication was moderate (=30.7, S.D = 0.6). When considering some issues, it was found that some of the respondents had poor perceived barriers of medication-taking. Of which, 52.7% of them experienced bad feelings about their medication-taking, and 56.3% were reluctant to take their medication due to frequent urination. Regarding to inappropriate medication-taking behavior, the study found that 38.3% have never verified their name on the medication packages, 60.1% would not immediately take the medicines once they realized they have forgotten, 13.5% ever took over-counter medicine for hypertension on their own, and 43.5% would not see a physician when they experienced unusual symptoms caused by medication taking. The result of this study suggests good level of health belief among hypertensive people in Thakham community. However, they have moderate compliance behavior on prescribed medication. Those who had poor compliance may develop uncontrollable blood pressure level which leads to complicated symptoms. Therefore, such individuals would require special attention and assistance from local healthcare staffs.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความเชื่อด้านสุขภาพen_US
dc.subjectพฤติกรรมen_US
dc.subjectความดันโลหิตสูงen_US
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.titleความเชื่อด้านสุขภาพและพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ที่มีความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลท่าข้าม อำเภอเมือง จังหวัดแพร่en_US
dc.title.alternativeHealth Belief and Compliance Behavior with Prescribed Medication Among People with Hypertension at Thakham District Health Promoting Hospital, Mueang District, Phrae Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc616.132-
thailis.controlvocab.thashความดันโลหิตสูง -- ผู้ป่วย -- แพร่-
thailis.controlvocab.thashการส่งเสริมสุขภาพ-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมสุขภาพ-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 616.132 อ216ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้ที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง หากมีความเชื่อด้านสุขภาพที่เหมาะสม จะช่วยส่งเสริมให้มีพฤติกรรมการรับประทานยาที่ถูกต้อง ช่วยให้สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเชื่อด้านสุขภาพและพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ที่มีความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าข้าม อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ โดยเลือกผู้ที่มีโรคความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูงจำนวนทั้งหมด 133 รายเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นมาจากการทบทวนวรรณกรรมประกอบด้วยส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 ความเชื่อด้านสุขภาพ และส่วนที่ 3 พฤติกรรมการรับประทานยา เครื่องมือส่วนที่ 2 และ 3ได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิได้ค่าความตรงตามเนื้อหา .81 และ .72 ตามลำดับ ส่วนการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสัมภาษณ์ ได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคที่ .70 ผลการศึกษาการรับรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างโดยแยกเป็นรายด้านพบว่า การรับรู้ความรุนแรงของโรคและความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนของโรคดันโลหิตสูง และ การรับรู้ประโยชน์ของการรับประทานยาอยู่ในระดับมาก (=34.6, S.D = 0.3 และ= 29.3, S.D = 0.6 ตามลำดับ)ส่วนการรับรู้อุปสรรค ต่อการรับประทานยา อยู่ในระดับปานกลาง(=14.7, S.D = 1.1)ส่วนพฤติกรรมการรับประทานยาอยู่ในระดับปานกลาง (=30.7, S.D = 0.6)โดยเมื่อพิจารณาบางประเด็นพบว่ามีกลุ่มตัวอย่างบางส่วนมีการรับรู้อุปสรรคต่อการรับประทานยาที่ไม่เหมาะสม โดยร้อยละ 52.7 เกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายที่จะต้องรับประทานยาและ ร้อยละ 56.3 ไม่อยากรับประทานยาเนื่องจากต้องปัสสาวะบ่อย ส่วนพฤติกรรมการรับประทานยาที่ไม่ถูกต้อง พบว่า ร้อยละ 38.3 ไม่เคยมีการ ตรวจสอบชื่อ - สกุล ที่หน้าซองก่อนการรับประทานยา ร้อยละ 60.1 จะไม่รับประทานยาทันที่ที่นึกได้หากมีการลืมรับประทาน ร้อยละ13.5 เคยซื้อยารักษาโรคความดันโลหิตสูงมารับประทานเองและ ร้อยละ 43.6 ไม่ไปพบแพทย์หากมีอาการผิดปกติหรืออาการไม่ดีขึ้น หลังจากรับประทานยารักษา การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนท่าข้ามมีความเชื่อด้านสุขภาพในระดับที่ดี แต่ยังมีพฤติกรรมการรับประทานยาอยู่ในระดับปานกลาง โดยผู้ที่มีพฤติกรรมการรับประทานยาที่ไม่ถูกต้อง เหมาะสมอาจนำไปสู่การควบคุมระดับความโลหิตไม่ได้ และ เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคตามมา ดังนั้น กลุ่มนี้ควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษจากเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพที่เกี่ยวข้องต่อไปen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)55.14 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract165.81 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS2.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.