Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46101
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | คมกฤต เล็กสกุล | - |
dc.contributor.author | เบญจมาภรณ์ เลขะวณิช | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-04-17T03:54:02Z | - |
dc.date.available | 2018-04-17T03:54:02Z | - |
dc.date.issued | 2558-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46101 | - |
dc.description.abstract | The study aims to improve the efficiency of recyclable wastes separated in the wooden pallet separation process (weight of 200 kilograms) and in the plastic separation process (weight of 360 kilograms) by Northern Art Product Co., Ltd. The study applies the motion and time technique. From an investigation of the recyclable waste separation process and supervisors’ interviews, there were many problems. First of all was the slow rate of separation process. As the layout of the separation line did not allow workers to move easily, workers readily felt tired, causing them to work more slowly. In addition, each machine part was not easily accessible. As a consequence of this, the production could not meet the customers’ demand. To improve the efficiency of the recyclable waste separation process, the researcher used the cause and effect diagram to analyze the problem. The flow diagram and the process chart were employed to investigate the movement of workers in the separation line as well as to design a new layout of the separation process. ECRS principle was then implemented to eliminate unproductive processes, led to simplified work procedures and shortened lead time. Finally, the speed of the recyclable waste separation process was compared before and after the improvement to find a solution to the problem. In conclusion, time used in the wooden pallet separation process (weight of 200 kilograms) decreased from 298.15 minutes to 238.59 minutes, reduced by 59.56 minutes, or a 19.98% reduction and the distance between processes reduced from 549 meters to 310 meters, decreased by 239 meters, or accounted to 43.53% In plastic separation process (weight of 360 kilograms), the speed decreased from 433.86 minutes to 390.60 minutes, reduced by 44.26 minutes, or a 10.18% reduction and the distance between processes reduced from 815 meters to 335 meters, decreased by 480 meters, or accounted to 58.89% | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การปรับปรุง | en_US |
dc.subject | ประสิทธิภาพ | en_US |
dc.subject | กระบวนการแยกขยะรีไซเคิล | en_US |
dc.subject | ขยะรีไซเคิล | en_US |
dc.title | การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการคัดแยกขยะรีไซเคิล | en_US |
dc.title.alternative | Efficiency Improvement in Recyclable Waste Separation Process | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 628.4458 | - |
thailis.controlvocab.thash | ขยะพลาสติก -- การนำกลับมาใช้ใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ขยะ -- การนำกลับมาใช้ใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การคัดแยกขยะ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว 628.4458 บ532ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการคัดแยกขยะรีไซเคิล โดยใช้เทคนิคการเคลื่อนไหวและเวลา โดยศึกษาในส่วนกระบวนการคัดแยกไม้อัด ปริมาณ 200 กิโลกรัม และกระบวนการคัดแยกพลาสติก ปริมาณ 360 กิโลกรัมของบริษัท นอร์ธเทิร์นอาร์ตโปรดักต์ จำกัด จากการศึกษาการทำงานของพนักงานและการสอบถามหัวหน้างาน พบว่าปัญหาหลักที่พบเป็นเรื่องประสิทธิภาพการทำงานค่อนข้างต่ำ การจัดงานอยู่ในลักษณะที่ทำงานไม่สะดวก งานอยู่ในตำแหน่งที่มีการเคลื่อนไหวแล้วเกิดความเมื่อยล้า ชิ้นส่วนต่างๆไม่สะดวกกับการหยิบใช้ ส่งผลให้กำลังการผลิตที่มีอยู่ในปัจจุบันไม่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ทั้งหมด ดังนั้นผู้วิจัยจึงวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาโดยใช้แผนผังแสดงสาเหตุและผล แล้วนำเทคนิคการเคลื่อนไหวและเวลามาวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นโดยการศึกษากระบวนการทำงานด้วยแผนผังการไหลและแผนภูมิกระบวนการผลิต แล้วประยุกต์ใช้เทคนิคการปรับปรุงงาน เพื่อลดขั้นตอนการทำงานที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่า และช่วยให้การทำงานสะดวก รวดเร็วขึ้น หลังการปรับปรุงได้จัดทำเวลามาตรฐานของกระบวนการคัดแยกขยะรีไซเคิลทั้ง 2 ประเภท และเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานก่อนและหลังการปรับปรุงเพื่อนำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาให้กับทางโรงงาน ผลการปรับปรุงพบว่า การทำงานในกระบวนการคัดแยกขยะรีไซเคิลมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในส่วนของกระบวนการคัดแยกไม้อัด ปริมาณ 200 กิโลกรัม สามารถลดเวลาในการทำงานทั้งหมดจาก 298.15 นาที เป็น 238.59 นาที ลดลง 59.56 นาที คิดเป็น 19.98% และมีระยะทางรวมในการขนย้ายวัสดุของกระบวนการลดลงจาก 549 เมตร เป็น 310 เมตร ลดลง 239 เมตร คิด เป็น 43.53% ในส่วนของกระบวนการคัดแยกพลาสติก ปริมาณ 360 กิโลกรัม สามารถลดเวลาในการทำงานทั้งหมดจาก 434.86 นาที เป็น 390.60 นาที ลดลง 44.26 นาที คิดเป็น 10.18% และมีระยะทางรวมในการขนย้ายวัสดุของกระบวนการลดลงจาก 815 เมตร เป็น 335 เมตร ลดลง 480 เมตร คิด เป็น 58.89% | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2 ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 177.91 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 215.73 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
full.pdf | Full IS | 6.64 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.