Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46078
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.advisorยงยุทธ ยะบุญธง-
dc.contributor.authorเจียรนัย ภูดอนตองen_US
dc.date.accessioned2018-04-10T06:51:47Z-
dc.date.available2018-04-10T06:51:47Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46078-
dc.description.abstractThis study has the fundamental objective of exploring general problem while making recommendations in learning management administration towards the ASEAN community of basic educational institutions in Phrao district, chiang mai province. Selected population and chosen sample include Director General and his Deputy of education institute, teachers and Chairman of Basic Education Committee Year 2557 numbering 308 persons in questionnaire format. Information gleaned from such will be analyzed using mean percentage average with standard deviation and strong written conclusion. Findings of results of this study with the fundamental objective of exploring general problem while making recommendations in learning management administration towards the ASEAN community of basic educational institutions in Phrao district, chiang mai province confirm that there's a major practical compliance in moderation with most emphatic on the stipulation for activities including exchange program of learning, while the lowest score goes to supporting teachers and personnel within the institute as members of association/Asean teachers. As for problems in dealing with learning management administration towards the ASEAN community include the fact that there's lack of official appointments of various committee members working on Asean issues and lack of general planning, inadequate budget for holding these activities. There is no formal meeting, notifying, alerting those concerned without responsible body clearly addressing Asean problems. Preparation of teaching and learning the Asean scope among the schools is found wanting and cannot be strictly applied in real life. No efficient educational follow-up, no set-up of Asean teachers union within the schools including the lack of general report on the running of these activities which simply don't address the practical realities encountered. As for recommendations in learning management administration towards the ASEAN community, it behooves those education institutes to build understanding regarding the roles and duties for the Committee, to fix schedules and timetables in running various activities of Asean. Public relations and notifications on planning details of Asean education institutes to those concerned. There should be people assuming accountability from each institution creating networking co-operation amongst groups. Learning and teaching activities management for Asean should take into account the practical application for daily lives eg. the English language and languages of Asean countries. Moreover, investigative follow-up, evaluation should reflect actual performance results. The central unit should allocate adequate budgets to support working activities among the Asean countries, while encouraging and facilitating all teachers to be active participatory members of the Asean Community of teachers.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectประชาคมอาเซียนen_US
dc.subjectการบริหารจัดการen_US
dc.subjectสถานศึกษาขั้นพื้นฐานen_US
dc.titleการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeLearning Management Administration Towards the ASEAN Community of Basic Education Institutions in Phrao District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc371.2-
thailis.controlvocab.thashสมาคมอาเซียน-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาการศึกษา -- พร้าว (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาขั้นพื้นฐาน -- การบริหาร-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 371.2 จ567ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ครู และประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2557 จำนวน 308 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและบรรยายสรุปเป็นความเรียง ผลการศึกษาการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ส่วนใหญ่มีการปฏิบัติหรือเป็นจริงในระดับปานกลาง ประเด็นที่เห็นว่ามีการปฏิบัติหรือเป็นจริงอยู่ในระดับมากสุด คือ การกำหนดให้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่วนประเด็นที่เห็นว่ามีการปฏิบัติหรือเป็นจริงอยู่ในระดับต่ำสุด คือ การสนับสนุนให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษาเป็นสมาชิกสมาคม/ชมรมครูอาเซียน ส่วนปัญหาในการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน คือ สถานศึกษาขาดการแต่งตั้งคณะกรรมการในการดำเนินการเกี่ยวกับอาเซียนอย่างเป็นทางการ ขาดการวางแผนในการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับอาเซียน งบประมาณในการจัดกิจกรรมอาเซียนไม่เพียงพอ ไม่มีการประชุม ชี้แจง การดำเนินกิจกรรมอาเซียนแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึงและเป็นทางการ ไม่มีผู้รับผิดชอบเครือข่ายอาเซียนอย่างชัดเจน การจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับอาเซียนในโรงเรียนไม่สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างแท้จริง การนิเทศติดตามไม่มีประสิทธิภาพ ไม่มีการจัดตั้งชมรมครูอาเซียนในโรงเรียน รวมถึงการสรุปและรายงานผลการดำเนินงานเกี่ยวกับอาเซียนไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง สำหรับข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน คือ สถานศึกษาควรสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่แก่คณะกรรมการ จัดทำปฏิทินในการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับอาเซียน ชี้แจงแผนการดำเนินงานเกี่ยวกับอาเซียนของสถานศึกษาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง ควรมีผู้รับผิดชอบแต่ละสถานศึกษามาทำงานร่วมกันในกลุ่มเครือข่าย รวมถึงการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับอาเซียนควรคำนึงถึงการนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาประเทศในอาเซียน เป็นต้น นอกจากนี้การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล ควรรายงานผลการดำเนินงานตามสภาพความเป็นจริง และต้นสังกัดควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการจัดกิจกรรมอาเซียนอย่างเพียงพอ และส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูทุกคนได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมครูอาเซียนen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2abstract.docAbstract (words)69 kBMicrosoft WordView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract178.35 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
full.pdfFull IS3.49 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.