Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46077
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยงยุทธ ยะบุญธง-
dc.contributor.advisorชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.authorธิดารัตน์ พุทธิมาen_US
dc.date.accessioned2018-04-10T06:50:17Z-
dc.date.available2018-04-10T06:50:17Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46077-
dc.description.abstractThis independent study was aimed at examining the management of student quality development activity of Chiang Mai secondary schools, Secondary Educational Service Area Office 34, its problems and suggestions. The respondents of this study were consisted of 99 in total which can be divided into school directors, deputy directors the teachers who were responsible for school’s field trip project. The instrument used was a questionnaire (Rating Scale). Collected data were then analyzed using frequency, percentage, average and standard deviation. Findings were as follows: In managing the student quality development activity of Chiang Mai Secondary school, Secondary Educational Service Area Office 34; 4 aspects of management principle that mostly practiced were saving school budget, working with transparency, having less problems and participation of school committee members. The average of each aspect that practiced the most was saving school budget, working with transparency, having less problems and participation of school committee members respectively. Concerning the problems found in this study; they were: inadequate budget, complicated budget payment system, transportation - the bus used was too big and found insecure, and parents did not join the school’s meetings. The suggestions were the activities should be planned within limited budget, the teachers who was responsible for budget planning should be more prudent, the vehicles should be vans more than buses to prevent risk, the parents should be engaged to participate in every school’s meeting, and also the school should inform parents and school’s committee members about the principles and guidelines for field trip activity in order to ask for their opinions or suggestions.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการบริหารจัดการen_US
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษาen_US
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 34en_US
dc.titleการบริหารจัดการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 34en_US
dc.title.alternativeManagement of Student Quality Development Activity of Chiang Mai Secondary Schools, Secondary Educational Service Area Office 34en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc371.2-
thailis.controlvocab.thashสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 34-
thailis.controlvocab.thashการบริหารการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนมัธยมศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 371.2 ธ342ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการปัญหาและข้อเสนอแนะ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 ประชากร ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการสถานศึกษาที่รับผิดชอบโครงการกิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ และครูผู้รับผิดชอบโครงการกิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ ทั้งหมด 99 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ สภาพการบริหารจัดการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 พบว่ามีการปฏิบัติที่ยึดหลักการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 4 ประการ คือ1) ประหยัดเงินงบประมาณแผ่นดิน 2) มีความโปร่งใส 3) มีปัญหาในทางปฏิบัติตามมาน้อยที่สุด และ 4) การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายของสถานศึกษาโดยรวมมีระดับปฏิบัติ/เป็นจริง อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยมีค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ 1) ด้านการประหยัดเงินงบประมาณแผ่นดิน 2) ด้านมีความโปร่งใส 3) ด้านการมีปัญหา ในทางปฏิบัติตามมาน้อยที่สุดและ 4) ด้านการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายของสถานศึกษาสำหรับปัญหาที่สำคัญ พบว่า งบประมาณที่ได้รับจัดสรรไม่เพียงพอต่อการจัดกิจกรรมและระเบียบการใช้งบประมาณมีความยุ่งยากในการใช้จ่ายงบประมาณยานพาหนะที่ใช้ ในการเดินทางเป็นรถบัสซึ่งมีขนาดใหญ่ทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในการเดินทางสูง รวมทั้งผู้ปกครองขาดการเข้าร่วมประชุมกับสถานศึกษา และมีข้อเสนอแนะคือ สถานศึกษาควรเลือกสถานที่จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับงบประมาณที่มี ส่วนครูที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบดูแลการใช้จ่ายงบประมาณในการจัดกิจกรรมต้องปฏิบัติให้ถูกระเบียบ รวมถึงควรใช้รถตู้เป็นยานพาหนะในการเดินทางเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุ และสถานศึกษาควรสร้างความตระหนักให้ผู้ปกครองเข้าร่วมประชุม และจัดทำหนังสือแจ้งหลักการและแนวทาง ในการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาถึงผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อเป็นช่องทางให้ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาได้แสดงความคิดเห็นและเสนอแนะen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)187.54 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract287.09 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
full.pdfFull IS3.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.