Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุดมโชค อาษาวิมลกิจ-
dc.contributor.authorมะลิวัลย์ ฝันมะติen_US
dc.date.accessioned2018-04-09T02:19:10Z-
dc.date.available2018-04-09T02:19:10Z-
dc.date.issued2557-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46016-
dc.description.abstractThe study “Factors Influencing Solid Waste Management Participation in Tambon Bansa Municipality, Chae Hom District, Lampang Province” aimed to investigate factors affecting the waste management participation of the citizen in Tambon Bansa Municipality, Chae Hom Distric, Lampang Province and to examine the problems, obstacles and suggestions in the participation of the citizen in managing the waste in Tambon Bansa.This quantitative research employed the survey research methodology which included 200 citizen of Tambon Bansa completed the questionnaires and 12 community leaders participated in the interviews. From the data, it was found that the roles of the administrators and community leaders in participating in the waste management were publicizing the waste policies through meetings, public relations, persuasions, and being role models in participation in the project. Also they followed up the results, solved the problems and obstacles, and pushed forward the project to operate smoothly. Moreover, the data indicated that the community leaders used wire broadcasting to push forward the waste management project in the villages. Therefore, the villagers learned about the progress of the sales of the waste, time period and other details. Consequently, the citizen realized the significance and benefits of waste sorting. They also became aware of its benefits to the community in making the village clean and pleasant. Furthermore, in motivating the citizen to manage the waste, there was the building of knowledge, understanding and awareness of the benefits of sorting the waste before selling. In addition, there was the application to participate in the local waste management project with the Municipality. The most influential factors affecting the waste management participation of the citizen was the project included the competition and reward components; for example, prize money, certificates, and appraisal for the families and villages participated with the highest waste sales and sorted the waste regularly. Finally, the waste management of the Municipality included the campaign promoting the citizen to put the sorted waste in the bags provided by the Municipality for the collection on the designated dates and locations in the village. Also the Municipality charged 20 Baht each month. The data revealed that the satisfaction level of the citizen was at an average level. The citizen thought that waste collection was the responsibility of the Municipality to make it effective with reasonable fee and improve its management. In terms of problems and obstacles, it was found that since the Municipality had the participatory waste management center at Tambon Bansa Municipality by selling the Refuse Derived Fuel (RDF) produced from the sorted waste to The Siam Cement Public Company Limited (Lampang), some families did not seriously sort the waste before putting it in the provided bags. They mixed the stones, brick, concrete debris, tiles, twigs, leaves, and hazardous waste. Moreover, the policy of the Municipality’s administrator was to put the waste in front of their houses and in the villages. However, some families did not put the waste in the bags before they disposed the waste causing odor, insect, and cleanness problems. Consequently, there was a delay in the waste management in the community.  en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectขยะมูลฝอยen_US
dc.subjectเทศบาลตำบลบ้านสาen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมของประชาชนen_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ ขยะมูลฝอยในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านสา อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeFactors Influencing Solid Waste Management Participation in Tambon Bansa Municipality, Chae Hom District, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc363.7285-
thailis.controlvocab.thashการกำจัดขยะ -- แจ้ห่ม (ลำปาง)-
thailis.controlvocab.thashการกำจัดขยะ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน-
thailis.controlvocab.thashขยะ -- แจ้ห่ม (ลำปาง)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 363.7285 ม117ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะ มูลฝอยในเขตเทศบาลตำบลบ้านสา อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปางมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านสา และเพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมของของประชาชนในการจัดการขยะ มูลฝอยในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านสา การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)ใช้วิธีการวิจัยแบบสำรวจ (Survey Research)โดยใช้เครื่องมือในการเก็บข้อมูลได้แก่ แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชาชนในตำบลบ้านสา รวม 200 คน และแบบสัมภาษณ์ในการสัมภาษณ์ผู้นำท้องถิ่น ที่เกี่ยวข้อง รวม 12 คน จากการศึกษาพบว่าบทบาทของผู้บริหารและผู้นำชุมชนต่อการมีส่วนร่วม ในการจัดการขยะมูลฝอยดำเนินการในลักษณะการเผยแพร่นโยบายการจัดการขยะมูลฝอยผ่านการประชุม การประชาสัมพันธ์ การพูดชักชวนสนับสนุนและเป็นแบบอย่างเข้าร่วมโครงการ อีกทั้งการติดตามผล แก้ไขปัญหา อุปสรรค และช่วยผลักดันให้โครงการสามารถดำเนินการได้อย่างราบรื่น และยังพบว่าผู้นำชุมชนมีส่วนผลักดันโครงการจัดการขยะในหมู่บ้าน โดยการประชาสัมพันธ์เสียงตามสายให้ประชาชนได้รับทราบข่าวสารเกี่ยวกับยอดขายขยะ ระยะเวลา และรายละเอียดต่างๆ จึงทำให้ทราบความคืบหน้า และทำให้ประชาชนเห็นความสำคัญและประโยชน์ของการคัดแยกขยะ เกิดความตระหนักถึงประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นต่อส่วนรวม ที่ทำให้สภาพสิ่งแวดล้อมของชุมชนสะอาดน่าอยู่มากยิ่งขึ้น ประการที่สอง การสร้างแรงจูงใจในการจัดการขยะ โดยการสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักให้เห็นคุณค่าของการคัดแยกขยะก่อนนำไปขาย การสมัครเข้าร่วมโครงการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนกับเทศบาล โดยโครงการมีลักษณะเป็นการแข่งขัน การให้รางวัล เป็นสิ่งตอบแทน เช่น เงินรางวัล เกียรติบัตร การยกย่องชมเชย แก่ครัวเรือนและหมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการและมียอดขายขยะมากที่สุดตามลำดับและมีการคัดแยกขยะอย่างสม่ำเสมอนั้น เป็นปัจจัย ที่ทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยมากที่สุด ประการสุดท้ายคือ การบริหารการจัดเก็บขยะมูลฝอยของเทศบาลโดยการรณรงค์ ให้ประชาชนนำขยะที่คัดแยกแล้วใส่ถุงขยะเพื่อให้เทศบาลจัดเก็บตามกำหนดระยะเวลา และจุดจัดเก็บขยะในหมู่บ้าน โดยเทศบาลเก็บค่าธรรมเนียมเดือนละ 20 บาท ต่อเดือน ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจ ของประชาชนอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องจากประชาชนมองว่าการจัดเก็บขยะเป็นหน้าที่ของเทศบาลที่ต้องทำให้มีประสิทธิภาพ มีความเหมาะสมกับค่าธรรมเนียม และมีการพัฒนาการบริหารจัดการ ให้ดียิ่งขึ้น ในส่วนของปัญหา อุปสรรค พบว่า จากการที่เทศบาลมีการบริหารจัดการศูนย์จัดการวัสดุไม่ใช้แล้วแบบมีส่วนร่วมของเทศบาลตำบลบ้านสา โดยนำขยะที่จัดเก็บในชุมชนมาคัดแยก และเข้าสู่กระบวนการนำไปผลิตเป็นเชื้อเพลิงแข็ง (RDF) จำหน่ายให้กับบริษัทปูนซิเมนต์ไทย(ลำปาง) จำกัด นั้น ประชาชนบางครัวเรือนไม่มีการคัดแยกขยะอย่างจริงจังก่อนรวมใส่ถุงขยะให้เทศบาลจัดเก็บ โดยนำก้อนหิน อิฐ เศษปูน กระเบื้อง กิ่งไม้ ใบไม้ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตรายทิ้งรวมกัน ประกอบกับนโยบายของผู้บริหารเทศบาลที่นำถังขยะวางไว้บริเวณหน้าบ้านและในชุมชน ทำให้บางครัวเรือน นำขยะทิ้งลงในถังขยะโดยไม่ใส่ถุงขยะ เกิดปัญหากลิ่น แมลง ความสกปรกและเกิดความล่าช้าในการบริหารจัดการในการจัดเก็บขยะมูลฝอยในชุมชน  en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf ABSTRACT307.14 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdf APPENDIX985.42 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1985.16 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2985.25 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3985.38 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdf CHAPTER 4985.53 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5985.37 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdf CONTENT305.91 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER614.56 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdf REFERENCE985.31 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.