Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46007
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัสสนัย วรรธนัจฉริยา-
dc.contributor.authorจิดาภา รื่นนารีนารถen_US
dc.date.accessioned2018-04-05T03:22:37Z-
dc.date.available2018-04-05T03:22:37Z-
dc.date.issued2557-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46007-
dc.description.abstractBiomaterials have been recently developed and implemented in medical application as an alternative for reactivate or replace fractured parts of bones. Bioactive materials, such as Hydroxyapatite (HA) and bioactive glass (BG) have been increasingly implemented in bone substitution due to their biocompatibility and closely resemble the mineralized phase of human bone structures. Furthermore, the mentioned materials can be synthesized from natural resources (bovine bone and mollusk shell) with calcium-based structures. In this study, the synthesized materials were applied to bone fixation for damaged bone treatment. In addition, the formed composites were compressed by hydraulic pressing machine. The experimental design based on Response Surface Method (RSM) was implemented to evaluate the significant factors of forming condition consists of mixing ratio, pressure and holding time for pressing. The resulting scaffolds were evaluated for ultimate compressive strength and bending strength as the response. The results revealed that all forming conditions and some interaction term have a significant effect on the mechanical property of the composite scaffolds. Consequently, the average compressive strength (154.29 MPa), the average bending strength (17.15 MPa) and density (1.82 g/cm3) was obtained from the scaffold with a 4.53 wt% of BG, 23.41 MPa of pressure and 52.39 second of holding time. Consequently, the information from the mechanical tests was imported into Finite Element Analysis (FEA) in order to evaluate the impacted force behavior of the bone plate when subject to 200 Newton impacted load in axial direction. The result shows that the von Mises stress is 16.2 MPa and the critical location is at the bottom edge of the bone plate.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพารามิเตอร์en_US
dc.subjectการขึ้นรูปen_US
dc.subjectแผ่นเพลทยึดติดกระดูกen_US
dc.subjectวัสดุประสมen_US
dc.subjectไฮดรอกซีอะปาไทต์en_US
dc.subjectแก้วชีวภาพen_US
dc.titleพารามิเตอร์ที่เหมาะสมต่อการขึ้นรูปแผ่นเพลทยึดติดกระดูกจากวัสดุประสมของไฮดรอกซีอะปาไทต์และแก้วชีวภาพen_US
dc.title.alternativeAppropriate Parameters for Bone Fixation Plate Forming from Hydroxyapatite and Bioactive Glass Compositeen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc617.695-
thailis.controlvocab.thashพารามิเตอร์-
thailis.controlvocab.thashเซรามิกในการแพทย์-
thailis.controlvocab.thashวัสดุทางการแพทย์-
thailis.manuscript.callnumberว 617.695 จ342พ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัสดุชีวภาพได้เข้ามามีบทบาทอย่างแพร่หลายในงานด้านการแพทย์ ซึ่งได้มีการพัฒนาวัสดุดังกล่าว เพื่อนำไปใช้ในงานศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์และวัสดุทางทันตกรรม เช่นเดียวกับไฮดรอกซีอะปาไทต์และแก้วชีวภาพที่เป็นวัสดุชีวภาพที่สามารถสังเคราะห์ได้จากวัสดุธรรมชาติที่มีธาตุแคลเซียมเป็นองค์ประกอบหลักและมีโครงสร้างพื้นฐานทางเคมีที่มีความคล้ายคลึงกับกระดูกมนุษย์ โดยงานวิจัยนี้ได้ทำการสังเคราะห์วัสดุชีวภาพทั้ง 2 ชนิด เพื่อใช้เป็นแนวทางในการศึกษาการขึ้นรูปแผ่นเพลทดามกระดูกต้นแขน โดยใช้วิธีการอัดขึ้นรูปชิ้นงานด้วยเครื่องอัดไฮดรอลิคและใช้สภาวะในการอัดขึ้นรูปตามเงื่อนไขการออกแบบการทดลองด้วยวิธีพื้นผิวผลตอบแบบส่วนประสมกลาง โดยปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการอัดขึ้นรูป มีดังนี้ ส่วนผสมของแก้วชีวภาพ ความดันในการอัดขึ้นรูปและเวลาในการอัดขึ้นรูป ซึ่งค่าผลตอบคือ คุณสมบัติเชิงกล (ความเค้นกดและความเค้นดัดโค้ง) จากนั้นวิเคราะห์หาสภาวะที่เหมาะสมที่สุดในการอัดขึ้นรูป เพื่อใช้เป็นเงื่อนไขสำหรับการทดลองยืนยันผลโดยใช้การทดสอบคุณสมบัติเชิงกลและเชิงกายภาพ (ความหนาแน่น) ซึ่งจากการวิเคราะห์พบว่าส่วนผสมของแก้วชีวภาพที่ร้อยละ 4.53 โดยน้ำหนัก ความดันที่ใช้ในการกดอัดขึ้นรูป 23.41 เมกะปาสกาล และระยะเวลาที่ใช้ในการกดอัดอยู่ที่ 52.39 วินาที ให้ค่าเฉลี่ยของความเค้นกดอยู่ที่ 154.29 เมกะปาสกาลและความเค้นดัดโค้งอยู่ที่ 17.15 เมกะปาสกาล และค่าความหนาแน่นรวมของชิ้นงานอยู่ที่ 1.82 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร จากคุณสมบัติของวัสดุสามารถนำมาวิเคราะห์การจำลองพฤติกรรมการรับแรงด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมการรับแรงกระทำต่อแผ่นเพลทในสภาวะการจำลองแรงที่กระทำในขนาด 200 นิวตัน ตามแนวแกน พบว่า ค่าความเค้นในรูปแบบของวอนมิสเซสที่ทำให้แผ่นเพลทเสียหายอยู่ที่ 16.2 เมกะปาสกาล ซึ่งจุดวิกฤตอยู่บริเวณขอบด้านล่างของแผ่นเพลทen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT174.26 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX566.62 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1249.78 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 21.12 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 31.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 41.83 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5264.83 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT221.52 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER612.55 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE278.86 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.