Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45933
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพีรยา มั่นเขตวิทย์-
dc.contributor.advisorสมพร สังขรัตน์-
dc.contributor.authorพิชญาศินี สุวรรณสมศรีen_US
dc.date.accessioned2018-03-26T07:30:53Z-
dc.date.available2018-03-26T07:30:53Z-
dc.date.issued2557-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45933-
dc.description.abstractCurrently, in Thailand, robot-assisted therapy has been used for facilitating motor recovery and function of upper limb in stroke patients. There have been research studies indicating the promising outcomes of using robot-assisted therapy for improving motor function in foreign contexts. However, there has no research study regarding the use of robot-assisted therapy in Thailand. Therefore, the current research aimed to study the effect of robot-assisted therapy named Armeo®Springon motor recovery of upper limbin 3 Thai stroke patients. It also studied the participants’ satisfaction of training with the Armeo®Springandactivities of daily living. This research employed Single-subject, A-B-A, design. The first phase was the pre-training phase (A: Baseline) which took 2 weeks. The second phase was the Armeo®Spring training phase (B: Intervention) which lasted for 8 weeks. The last phase was the post-training phase(A:baseline)which took 2 weeks.The outcome measures for this study were the Wolf Motor Function Test,theFugl-Meyer Assessment, and the Satisfaction Questionnaire. Data were analyzed using the descriptive statistics. The results of motor recovery showed that all participants had a trend of increasingscoresas assessed by the Fugl-Meyer Assessment, and decreasing time as assessed by the Wolf Motor Function Test. All participants reported the satisfaction after using theArmeo®Spring.The stated the benefit of the Armeo®Springfor improving motor recovery of their upper limbs. They felt less bored, and had more motivation for training. Regarding the satisfaction with the activities of daily living after using Armeo®Springtraining, most of the participantsshowedthe highest levels of satisfaction to do their daily activities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectหุ่นยนต์ช่วยฝึกen_US
dc.subjectการเคลื่อนไหวen_US
dc.subjectผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองen_US
dc.titleผลของหุ่นยนต์ช่วยฝึกต่อการฟื้นสภาพด้านการเคลื่อนไหวของแขนและมือและความพึงพอใจในการทำกิจวัตรประจำวัน:ศึกษานำร่องในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชาวไทยen_US
dc.title.alternativeEffect of Robot-Assisted Therapy on Recovery of Upper Limb Motor Function and Satisfaction of Activity of Daily Living: A Pilot Study in Thai Stroke Patientsen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc616.81-
thailis.controlvocab.thashการเคลื่อนไหว-
thailis.controlvocab.thashกายภาพบำบัด-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashหลอดเลือดสมอง -- โรค -- ผู้ป่วย-
thailis.manuscript.callnumberว 616.81 พ322ผ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันประเทศไทยได้มีการนำหุ่นยนต์ช่วยฝึกเข้ามาใช้ในการส่งเสริมการฟื้นสภาพด้านการเคลื่อนไหวและเพิ่มพูนสมรรถภาพการทำงานของแขนและมือในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งในต่างประเทศได้มีการศึกษาวิจัยที่แสดงให้เห็นผลลัพธ์ที่ดีขึ้นของหุ่นยนต์ช่วยฝึกต่อการฟื้นสภาพด้านการเคลื่อนไหวอย่างไรก็ตามในประเทศไทยยังไม่มีการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าว การศึกษาวิจัยในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของหุ่นยนต์ช่วยฝึกที่มีชื่อว่า Armeo®Springต่อการฟื้นสภาพด้านการเคลื่อนไหวของแขนและมือ รวมทั้งศึกษาความพึงพอใจต่อหุ่นยนต์ช่วยฝึกและความพึงพอใจในการทำกิจวัตรประจำวันของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองชาวไทยจำนวน 3 คนโดยใช้งานวิจัยแบบตัวอย่างเดียว รูปแบบ A-B-A แบ่งเป็น 3 ช่วง ช่วงแรกเป็นช่วงเส้นฐาน (A: Baseline) ใช้เวลา 2 สัปดาห์ ช่วงที่สองเป็นช่วงของการฝึกด้วยหุ่นยนต์ช่วยฝึก Armeo®Spring (B: Intervention) ใช้ระยะเวลา 8 สัปดาห์ และช่วงสุดท้ายเป็นช่วงหลังการฝึกโดยใช้หุ่นยนต์ช่วยฝึก (A: Baseline) ซึ่งใช้เวลา 2 สัปดาห์เครื่องมือประเมินผลลัพธ์ด้านการฟื้นสภาพด้านการเคลื่อนไหวและการทำงานของแขนและมือใช้แบบประเมิน Wolf Motor Function Test และ Fugl-Meyer Assessmentและแบบสอบถามความพึงพอใจเพื่อศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการใช้หุ่นยนต์ช่วยฝึกและความพึงพอใจต่อการทำกิจวัตรประจำวันหลังจากการใช้หุ่นยนต์ช่วยฝึกวิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีระดับคะแนนดีขึ้นจากการประเมินด้วยแบบประเมิน Fugl-Meyer Assessment และใช้เวลาในการทำกิจกรรมลดลงจากการประเมินด้วยแบบประเมิน Wolf Motor Function Test นอกจากนี้พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการใช้หุ่นยนต์ช่วยฝึกในการฟื้นฟูการทำงานของแขนและมือ โดยเห็นประโยชน์ของการฝึกที่ส่งเสริมความสามารถในการเคลื่อนไหวของแขนและมือ รู้สึกชื่นชอบ ไม่เบื่อหน่าย เกิดแรงจูงใจในการฝึกอย่างต่อเนื่อง รวมถึงผลการศึกษาในเรื่องความพึงพอใจต่อการทำกิจวัตรประจำวันหลังการใช้หุ่นยนต์ช่วยฝึกพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุดต่อการทำกิจวัตรประจำวันen_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT202.69 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX572.8 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1305.52 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2505.5 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3397.19 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4878 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5346.27 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT205.46 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER628.11 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE245.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.