Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45932
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริรัตน์ ปานอุทัย-
dc.contributor.advisorภารดี นานาศิลป์-
dc.contributor.authorสุพรรณษา กลิ่นกล่อมen_US
dc.date.accessioned2018-03-26T07:26:24Z-
dc.date.available2018-03-26T07:26:24Z-
dc.date.issued2557-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45932-
dc.description.abstractBenign prostatic hyperplasia (BPH) is a chronic disease that affecting daily life and quality of life of older people. Appropriate self-management is one way to mitigate and reduce its impacts. This study aimed to examine the relationship between self-management behaviors and factors including knowledge on disease and self-management practices, self-efficacy regarding self-management and social support. Participants were people aged 60 years or over and diagnosed BPH, not having surgery and attending urological clinics at Surat Thani, Maharaj Nakhon Si Thammarat, Trang and Hatyai hospitals (n = 90). Data were collected by using a demographic data record form, a self-management behavior scale, a knowledge scale, a self-efficacy scale and a social support scale. All instruments had been tested for validity and reliability. Data were analyzed using descriptive statistics, Spearman rank correlation and Pearson product moment correlation. The results showed that: 1. The score for overall self-management behaviors and the dimension of role and emotional management were at a high level, whereas the score for the dimension of medical management was at a moderate level. 2. The score of related factors including knowledge on disease and self-management practices, self-efficacy regarding self–management and social support were at high level. 3. Knowledge on disease and self-management practices, self-efficacy regarding self– management and social support had positive relationship with self-management behaviors at a significant level of p < .01. The results of this study can be used as basic information for nurses and health personnel to promote self-management behaviors of the elderly with benign prostatic hyperplasia.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพฤติกรรมen_US
dc.subjectการจัดการตนเองen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.titleพฤติกรรมการจัดการตนเองและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้สูงอายุที่มีภาวะต่อมลูกหมากโตen_US
dc.title.alternativeSelf-management Behaviors and Related Factors Among Older Persons with Benign Prostatic Hyperplasiaen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.nlmcW 4-
thailis.controlvocab.meshSelf -- management-
thailis.controlvocab.meshProstatic hypertrophy -- in old age-
thailis.controlvocab.meshAging-
thailis.manuscript.callnumberW 4 ส246พ 2557-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะต่อมลูกหมากโตเป็นโรคเรื้อรังซึ่งส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุการจัดการตนเองที่เหมาะสมเป็นวิธีหนึ่งที่บรรเทาและลดผลกระทบดังกล่าว การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการจัดการตนเอง และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัวในการจัดการตนเอง การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการจัดการตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม ในกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุที่มีภาวะต่อมลูกหมากโตและยังไม่ได้รับการผ่าตัด 90 ราย ที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลตรัง โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช และโรงพยาบาลหาดใหญ่ รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดพฤติกรรมการจัดการตนเอง แบบวัดความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัวในการจัดการตนเอง แบบวัดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการจัดการตนเอง และแบบวัดการสนับสนุนทางสังคม ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเชื่อมั่นแล้ว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนและสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า 1. คะแนนพฤติกรรมการจัดการตนเองโดยรวมและรายด้านได้แก่ ด้านบทบาทที่ดำรงอยู่ ในชีวิตประจำวันและด้านอารมณ์อยู่ในระดับสูง ส่วนพฤติกรรมการจัดการตนเองด้านการรักษาอยู่ในระดับปานกลาง 2. คะแนนปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการจัดการตนเองได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับโรคและการ ปฏิบัติตัวในการจัดการตนเอง การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการจัดการตนเองและการสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับสูง 3. ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัวในการจัดการตนเอง การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการจัดการตนเอง และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการจัดการตนเองทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) ผลของการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับพยาบาล และบุคลากรด้านสุขภาพในการวางแผนเพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะต่อมลูกหมากโตให้มีประสิทธิภาพต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT165.45 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX1.22 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1340.59 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2534.45 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3235.64 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4460.67 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5155.15 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT148.67 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER594.73 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE255.34 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.