Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45912
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรัญญา กันตะบุตร-
dc.contributor.advisorอรพิณ สันติธีรกุล-
dc.contributor.authorณัฐพล มอญเพชร์en_US
dc.date.accessioned2018-03-26T04:26:27Z-
dc.date.available2018-03-26T04:26:27Z-
dc.date.issued2557-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45912-
dc.description.abstractThe objective of this independent study is to compare the Professional Skills of Accountants and Certified Public Accountants in Chiang Mai Province. The sample group is consisted of 200; as 100 person who are accountants and 100 person who are Certified Public Accountants. The data obtained from questionnaires were analyzed by Descriptive Statistics including frequency, percentage and means, as well as Inferential Statistics as t-test and anova. It was shown that the samples were consisted of female, aged 31 – 40 years old, who have bachelor degree, work as an accountant and working experience is more than 15 years. Almost of the samples work in private companies that employ 1 – 5 accountants. They improve their Professional Skills by using the internet. Those samples who are accountants have the average score of Professional Skills at “good” level (3.74). The highest average score is Intellectual Skills, the second is Personal Skills. But Organizational and Business Management Skills is the lowest score. As for those who are Certified Public Accountants have the average score of Professional Skills at “good” level (4.19). The highest average score is Intellectual Skills, the second is Interpersonal and Communication Skills. But Personal Skills is the lowest score. In addition, the study found the significant difference of between accountants and certified public accountants in a statistical significance of 0.05 (p = 0.05) in 4 skills (Intellectual Skills, Technical and Functional Skills, Personal Skills and Organizational and Business Management Skills), but Interpersonal and Communication Skills was not significantly different at a statistical significance of 0.05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectทักษะทางวิชาชีพen_US
dc.subjectผู้สอบบัญชีen_US
dc.subjectนักบัญชีen_US
dc.titleการเปรียบเทียบทักษะทางวิชาชีพของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและนักบัญชีในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeComparison of Professional Skills of Accountants and Certified Public Accountants in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc657.092-
thailis.controlvocab.thashผู้สอบบัญชี -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashนักบัญชี -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 657.092 ณ113ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาการค้นคว้าอิสระเรื่อง การเปรียบเทียบทักษะในการปฏิบัติงานตามวิชาชีพของผู้สอบบัญชีอนุญาตและนักบัญชีในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะทางวิชาชีพของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและนักบัญชีในจังหวัดเชียงใหม่ เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 200 คนประกอบไปด้วย นักบัญชี 100 คน และผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 100 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล แล้วนำข้อมูลมาประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่การใช้ t-test และ Anova เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุอยู่ในช่วงระหว่าง 31-40 ปี มีระดับการศึกษาสูงสุดในระดับปริญญาตรี ดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่ฝ่ายบัญชี และมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านบัญชีมากกว่า 15 ปี มากที่สุด ด้านข้อมูลทั่วไปของธุรกิจ ผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า ส่วนใหญ่ทำงานอยู่ในหน่วยงานภาคเอกชน มีจำนวนพนักงานบัญชีในหน่วยงานจำนวน 1-5 คน และมีการส่งเสริมการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพบัญชี วิธีการส่งเสริมทักษะทางวิชาชีพโดยการสนับสนุนให้ค้นคว้าหาความรู้ผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มนักบัญชี มีค่าเฉลี่ยระดับการประเมินทักษะทางวิชาชีพในภาพรวม ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.74) โดยปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยระดับการประเมินมากที่สุด คือทักษะทางปัญญา รองลงมาคือ ทักษะทางคุณลักษณะเฉพาะบุคคล และทักษะการบริหารองค์กรและการจัดการทางธุรกิจ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มผู้สอบบัญชีรับอนุญาต มีค่าเฉลี่ยระดับการประเมินทักษะทางวิชาชีพในภาพรวม ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.19) โดยปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยระดับการประเมินมากที่สุดคือ ทักษะทางปัญญา รองลงมาคือ ทักษะทางปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการสื่อสาร และทักษะทางคุณลักษณะเฉพาะบุคคล มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด เมื่อทำการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยการประเมินทักษะทางวิชาชีพระหว่างกลุ่มนักบัญชีและกลุ่มผู้สอบบัญชีรับอนุญาต พบว่า มีค่าเฉลี่ยแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ในด้าน ทักษะทางปัญญา ทักษะทางวิชาการเชิงปฏิบัติและหน้าที่การงาน ทักษะทางคุณลักษณะเฉพาะบุคคล และทักษะการบริหารองค์กรและการจัดการทางธุรกิจ สำหรับทักษะทางปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการสื่อสาร ไม่มีความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT269.31 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX408.13 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1515.78 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2448.27 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3324.06 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4892.85 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5548.03 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT254.36 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER416.87 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE275.18 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.